Public Disclosure Authorized Public Disclosure Authorized Public Disclosure Authorized Public Disclosure Authorized ประเทศไทย ทางเศรษฐกิ จ ของกลุ ่ ม LGBTI ใน การมีส่วนร่วม © 2561 ธนาคารระหว่างประเทศเพื่อการบูรณะและพัฒนา / ธนาคารโลก 1818 H Street NW Washington DC 20433 โทรศัพท์ 202-473-1000 เว็บไซต์ www.worldbank.org งานวิจัยฉบับนี้เป็นผลจากความร่วมมือระหว่างเจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญของธนาคารโลกและบุคลากรภายนอก ข้อค้นพบ การตีความ และข้อสรุปที่แสดงผ่านงานวิจัยฉบับนี้นี้ไม่จาเป็นต้องสะท้อนถึงมุมมองของธนาคารโลก คณะกรรมการบริหาร หรือหน่วยงาน รัฐบาลที่เกี่ยวข้อง ธนาคารโลกไม่รับประกันความถูกต้องของข้อมูลในงานชิ้นนี้ ขอบเขต สี การจาแนกบุคล และข้อมูลอื่น ๆ ที่แสดงในแผนที่ในงาน ชิ้นนี้ไม่ได้สื่อถึงการตัดสินใจของธนาคารโลกเกี่ยวกับสถานะทางกฎหมายของอาณาเขต ดินแดน หรือการรับรองหรือยอมรับอาณา เขตเหล่านั้น สิทธิและการอนุญาต เนื้อหา องค์ประกอบต่าง ๆ ในงานชิ้นนี้อยู่ภายใต้ลิขสิทธิของงาน เนื่องด้วยธนาคารโลกปรารถนาให้มีการเผยแพร่สื่อสารความรู้ ของงานชิ้นนี้ไม่ว่าจะเป็นเพียงบางส่วนหรือทั้งหมดของรายงาน สามารถนามาผลิตซ้าภายใต้วัตถุประสงค์ที่ไม่ใช่เพื่อการค้า และ ตราบเท่าที่มีการของก่าวถึงแหล่งที่มาของงานชิ้นนี้ทั้งหมด หากมีคาถามเกี่ยวกับสิทธิและใบอนุญาต รวมถึงสิทธิที่เกี่ยวข้อง ติดต่อแผนกสิ่งพิมพ์ ธนาคารโลกได้ที่ The World Bank Group, 1818 H Street NW, Washington, DC 20433, USA โทรสาร: 202-522-2625 อีเมล์: pubrights@worldbank.org งานวิจัยนี้ตีพิมพ์ครั้งแรกเป็นภาษาอังกฤษโดยธนาคารโลก ชื่อ Economic Inclusion of LGBTI Groups in Thailand in 2018 หากมีส่วนที่ไม่ตรงกันให้ยึดถือตามต้นฉบับภาษาอังกฤษ ออกแบบหน้าปก Quo Gloal iii สารบัญ กิตติกรรมประกาศ.............................................................................................................................................................vi อักษรย่อ ......................................................................................................................................................................... viiii อภิธานศัพท์..................................................................................................................................................................... viii บทสรุปสาหรับผู้บริหาร . ..................................................................................................................................................xi 1.บทนา . ......................................................................................................................................................................... 25 2.งานวิจัยนี้จัดทําขึ้นอย่างไร. ......................................................................................................................................... 2 6 3.ประเทศไทย: บริบททางสังคมและกฎหมาย . ................................................................................................................ 29 บริบททางสังคม. .........................................................................................................................................................29 บริบททางกฎหมาย . ...................................................................................................................................................31 4.ความท้าทายในการเข้าถึงตลาดแรงงาน. ..................................................................................................................... 34 ประเด็นสาคัญ . .........................................................................................................................................................34 เหตุการณ์การเลือกปฏิบัติ . .....................................................................................................................................35 รายละเอียดในภาคเอกชน. ..................................................................................................................................... 36 ขอบงชี้ของการเลือกปฏิบัติในตลาดแรงงาน . .......................................................................................................... 38 ผลกระทบของการเลือกปฏิบัติ . ............................................................................................................................... 40 5.การเข้าถึงบริการและตลาด . ........................................................................................................................................ 43 ประเด็นสาคัญ . ........................................................................................................................................................ 43 การเข้าถึงบริการภาครัฐ . ....................................................................................................................................... 44 การเข้าถึงบริการสุขภาพและการประกัน. ............................................................................................................. 47 การเข้าถึงสถาบันการศึกษาและการฝกวิชาชีพ . ..................................................................................................... 56 iv การเข้าถึงการเงิน . ................................................................................................................................................... 52 การเข้าถึงอสังหาริมทรัพย ....................................................................................................................................... 53 6.ทิศทางขางหนา-ทางเลือกดานนโยบาย . ..................................................................................................................... 56 ดานที่ควรใหความสาคัญที่ 1: ความตระหนักรู้เกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ ...............................................................56 ดานที่ควรใหความสําคัญที่ 2: ความเท่าเทียมของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ และการไม่เลือกปฏิบัติ บนฐานของวิถีทางเพศและอัตลักษณทางเพศในการจ้างงาน. ................................................................................. 59 ดานที่ควรใหความสําคัญที่ 3: ความเท่าเทียมในการดูแลสุขภาพของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ . .............. 6 1 ดานที่ควรใหความสําคัญที่ 4: การศึกษาสาหรับทุกคน ......................................................................................... 62 ดานที่ควรใหความสําคัญที่ 5: ความเทาเทียมกันดานสิทธิตามกฎหมาย . ................................................................ 64 ดานที่ควรใหความสําคัญที่ 6: การวิจัยเพื่อเติมเต็มช่องว่างทางความรู้ . .............................................................. 67 รายการอ้างอิง ................................................................................................................................................................. 46 ภาคผนวก ก. การพัฒนา การทดสอบ และการกระจายแบบสารวจออนไลน์ . ..................................................... 71 ภาคผนวก ข. แบบสอบถาม–โควต้าสาหรับแต่ละกลุ่ม . ............................................................................................ 78 ภาคผนวก ค. การวิเคราะห์เชิงถดถอย—บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศและการเลือกปฏิบัติในการจ้างงาน .. 80 v กิตติกรรมประกาศ รายงานฉบับนี้จัดเตรียมโดยคณะทางานของกลุ่มธนาคารโลก ภายใต้การดูแลของ อูลริค ซาเกา (ผู้อานวยการธนาคารโลก ประจาประเทศไทย) และ ซูซาน เอส เชน (ผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการด้านงานพัฒนาสังคม ) หัวหน้าทีมปฏิบัติการคือ มาเรีย บรีทริซ ออร์แลนโด (หัวหน้าผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาสังคม) คณะทางานประกอบด้วย ซูซานา โบเอห์โมวา (ที่ปรึกษาอาวุโส ด้านเพศสภาพ) คลิฟตัน คอร์เทซ (ที่ปรึกษาประจาธนาคารโลกด้านวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ ) ฟิลิป เครฮาน (ที่ ปรึกษาด้านบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ) อาซิฟ โมฮัมเหม็ด อิสลาม (นักเศรษฐศาสตร์) โดมินิค โคห์เลอร์ (ที่ปรึกษา ด้านบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ) ปิโยตร์ ปอลัค (ที่ปรึกษาอาวุโสด้านเพศสภาพ ) และ ภมรรัตน์ ตันสงวนวงษ์ (ผู้เชี่ยวชาญอาวุโสด้านการพัฒนาสังคม ) โครงการศึกษาวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนอย่างดียิ่งจากนอร์ดิก ทรัส ฟันด์ (Nordic Trust Fund) นับเป็นทุนที่เกื้อหนุนและสร้างพื้นที่การเรียนรู้สาหรับเจ้าหน้าที่ธนาคารโลกในการใช้กรอบสิทธิมนุษยชนใน โครงการพัฒนาด้านต่าง ๆ คณะทางานขอขอบคุณข้อเสนอแนะและการหารือที่สาคัญจากโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) และ กรมกิจการ สตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวง ยุติธรรม คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่ งชาติ ประเทศไทย คณะกรรมการส่งเสริมความเท่ าเทียมระหว่ างเพศ และ คณะกรรมการวินิจฉัยการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมระหว่างเพศ การศึ ก ษานี้ ส าเร็ จ ลุ ล่ ว งลงได้ ด้ ว ยความร่ ว มมื อ ด้ า นการวิ จั ย ที่ เ ข้ ม แข็ ง จากองค์ ก รพั น ธมิ ต ร อั น ประกอบด้ ว ย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เจมส์ เบอร์ฟอร์ด นาดา ไชยจิตต์ อดิศร จันทราสุข และติโม โอจาเนน และ องค์กรเลิฟ แฟรงกี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง รุยซี ทิโอ และไมค์ วิลสัน ภาคีร่วมงานวิจัยเหล่านี้ของเราได้ช่วยขัดเกลาระเบียบวิธี วิจัยและความคิดที่นามาสู่การทารายงานฉบับนี้ เราขอขอบคุณองค์กรเครือข่ายทั้งหลาย โดยเฉพาะ เวิร์คเพลสไพรด์ ฮอร์ เน็ต และบีเช้นจ์ในการเชื่อมต่อทีมงานกับประชากรที่มีความหลากหลายทางเพศทั่วประเทศไทย สุดท้ายนี้ ขอขอบคุณ ก้าวหน้า เสาวกุล (หรือโตโต้) ที่ช่วยแชร์ลิงค์แบบสอบถามให้เข้าสู่ประชากรที่มีความหลากหลายทางเพศจานวนมากใน ประเทศไทย ทีมงานขอขอบคุณกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กรมคุ้มครอง สิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งประเทศไทย คณะกรรมการส่งเสริมความเท่าเทียม ระหว่างเพศ และคณะกรรมการวินิจฉัยการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมระหว่างเพศ พันธมิตร ๆ เพื่อนร่วมงาน และองค์กรภาคีทั้งหลายในประเทศไทยทีร่ ่วมอภิปรายในการจัดสนทนากลุม ่ ย่อยและการสัมภาษณ์ ผู้ให้ข้อมูลสาคัญ มีความสาคัญอย่างมากในการพัฒนาการศึกษาตลอดจนทาให้การศึกษาวิจัยนีส ้ าเร็จ ขอขอบคุณเป็นพิเศษ สาหรับองค์กรพัฒนาเอกชนหลายองค์กรในกรุงเทพ เชียงใหม่ พัทยา และภูเก็ต อันได้แก่ แอ็พคอม (APCOM) เครือข่ายคน ข้ามเพศเอเชียแปซิฟิค (Asia Pacific Transgender Network) เอ้าท์บีเคเค (OUTBKK) องค์การแพลนประเทศไทย สมาคม vi ฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย มูลนิธิเครือข่ายเพื่อนกะเทยเพื่อสิทธิมนุษยชน โรงน้าชา โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติสานักงาน เอเชียแปซิฟิก องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ องค์การเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศของ สหรัฐฯ เอเชีย และเวิร์คเพลสไพรด์ ในกรุงเทพ มูลนิธิเอ็มพลัสในเชียงใหม่ อันดามันเพาเวอร์และรุง ้ อันดามัน และภูเก็ต ิ ิสเตอร์ พัทยา ไพรด์ ในภูเก็ต และมูลนิธซ คณะทางานขอขอบคุณเป็นพิเศษสาหรับ คุณอูลริค ซาเกาสาหรับคาแนะนา ความคิดเห็นที่สร้างสรรค์ ข้อเสนอแนะที่เป็น ประโยชน์ และการสนับสนุนอย่างต่อเนื่องในการขับเคลื่อนงานวิจัยฉบับนี้ แกเบรียล ดีมอมบีเนส (หัวหน้า กลุ่มงานด้านการ พัฒนามนุษย์) อีวา โคลฟ (เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการอาวุโส) จอร์จ ลูอิส โรดริเกซ์ เมซา (ผู้จัดการกลุ่มงาน) และลาร์ ซอนเดอร์ การ์ด (หัวหน้ากลุ่มงานด้านพัฒนามนุษย์ การศึกษาและสุขภาพ) ผู้ซึ่งให้การดูแลแนะนาเชิงเทคนิคในแต่ละขั้นของการศึกษา ผู้อ่านทบทวน เจอร์มัน เฟรรี (ผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาสังคมอาวุโส) มาร์คัส โกลด์สเตน (หัวหน้านักเศรษฐศาสตร์) และ จอร์เจีย ฮาร์ลี (ผู้เชี่ยวชาญอาวุโสด้านการบริหารจัดการที่ดี ) ที่ให้ข้อเสนอแนะที่มีคุณค่า ขอขอบคุณเลขาธิการและการ บริหารจัดการของนอร์ดิกทรัสฟันด์ (อันนา ออติโอ และ แอสมีน คาน) สาหรับการสนับสนุนในแต่ละขั้นตอนของโครงการ รายงานนี้ได้รับประโยชน์อย่างยิ่งจากการสนับสนุนด้านการธุรการของ อลิซาเบ็ธ อาคุล ลอร์เดส อันดุคตา และปุญญานุช ชุลสุคนธ์ นอกจากนี้ ขนิฐา คงรักเกียรติยศ (เจ้าหน้าที่การสื่อสารองค์กร) และ เบน อเล็กซ์ มันเซอร์ (นักวิเคราะห์การสื่อสาร องค์กร) ได้ให้การสนับสนุนด้านการสื่อสารที่ยอดเยี่ยม ขอบคุณเป็นพิเศษสาหรับบาร์บารา โจน ไรซ์สาหรับการสนับสนุนด้าน บรรณาธิการ คณะทางานขอขอบคุณอย่างยิ่งสาหรับกลุม ่ ีความหลากหลายทางเพศและบุคคลทีไ ่ บุคคลทีม ่ ม่ใช่กลุ่มที่มีความหลากหลายทาง เพศในประเทศไทยที่เข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการสารวจและการสัมภาษณ์ และแบ่งปันความคิดเห็น ทัศนคติ และ ประสบการณ์ vii อักษรย่อ AIDS ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง (acquired immune deficiency syndrome) HIV ุ้ กันบกพร่อง (human immunodeficiency virus) ไวรัสทีเ่ ป็นสาเหตุของภาวะภูมิคม LGBTI เลสเบียน เกย์ ไบเซ็กชวล ทรานส์เจนเดอร์ และอินเตอร์เซกส์ (lesbian, gay, bisexual, transgender และ intersex) หรือเรียกโดยรวมว่า บุคคลที่มคี วามหลากหลายทางเพศ NGO องค์กรพัฒนาเอกชน (nongovernmental organization) SOGI วิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ (sexual orientation and gender identity) UNCTAD การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา (United Nations Conference on Trade and Development) UNDP โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (United Nations Development Programme) UNESCO องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific, and Cultural Organization) UNICEF กองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (United Nations Children’s Fund) USAID องค์กรเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศของสหรัฐอเมริกา (U.S. Agency for International Development) WHO องค์การอนามัยโลก (World Health Organization) หมายเหตุ รายงานนี้ใช้อักษรย่อ LGBTI (สาหรับฉบับภาษาอังกฤษ) สาหรับฉบับแปลภาษาไทยนี้ใช้คาว่า บุคคลที่มีความ หลากหลายทางเพศ เมื่อมีการกล่าวถึงกลุ่มอัตลักษณ์ทางเพศของบุคคลทุกกลุ่มในเอกสารอ้างอิงหรือเมื่อทุกกลุ่มได้รับ การพูดถึงโดยรวม และใช้อักษรย่อ LGBT เมื่อประเด็นบุคคลอินเตอร์เซ็กส์ไม่ได้ถูกรวมไว้ด้วย โดยมากในรายงานทุติย ภูมิหรือในการวิเคราะห์ผล นอกจากนี้ ใช้อักษรย่อ SOGI (สาหรับรายงานฉบับภาษาอังกฤษ) เมื่อกล่าวถึงรายงานทุติย ภูมิและการวิเคราะห์ผลของงานวิจัยมุ่งเน้นไปที่ประเด็นในวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ viii อภิธานศัพท์ ไบเซ็กชวล บุคคลที่มีความดึงดูดทางเพศหรือเชิงรักใคร่ หรือมีเพศสัมพันธ์กับคนได้มากกว่าหนึ่งเพศสภาพ การรังแก (Bullying) พฤติกรรมก้าวร้าวซ้า ๆ ที่จงใจกระทาเพื่อให้อีกฝ่ายบาดเจ็บหรือรู้สึกอึดอัด อาจเป็นด้วยการ สัมผัสทางกาย โจมตีด้วยวาจา การต่อสู้ หรือการชักจูงให้อีกฝ่ายรู้สึกหรือคิดไปในทางที่ต้องการ การรังแกรวมความถึง การมีอานาจไม่เท่ากัน และรวมถึงการหยอก การแกล้ง การยั่ว หรือเรียกอีกฝ่ายด้วยถ้อยคาที่สร้างความเจ็บปวด การใช้ ความรุนแรงทางกายภาพ หรือการกีดกันทางสังคม การรังแกอาจกระทาโดยตรง เช่น เด็กคนหนึ่งเรียกร้องเงินหรือ สิ่งของในครอบครองของเด็กอีกคนหนึ่ง หรือโดยอ้อม เช่น การแพร่ข่าวลือในกลุ่มนักเรียนด้วยกัน ซิสเจนเดอร์ (Cisgender) คาเรียกบุคคลที่อัตลักษณ์ทางเพศตรงกับเพศที่ถูกกาหนดให้เมื่อแรกเกิด เกย์ บุคคลที่มีความดึงดูดทางเพศหรือเชิงรักใคร่กับคนที่มเี พศสภาพเดียวกัน มักใช้กับผู้ชาย เพศสภาพ (Gender) ลักษณะและโอกาสทางสังคมที่ถูกกาหนดขึ้น โดยเชื่อมโยงกับเพศชายและหญิง รวมความถึง ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งผู้ ห ญิ ง และผู้ ช าย เด็ ก ผู้ ห ญิ ง และเด็ ก ผู้ ช าย เช่ น เดี ย วกั บ ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งผู้ ห ญิ ง และ ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ชาย ี วามอดทน หรือความเกลียดชัง การเกลียดกลัวการรักเพศเดียวกัน (Homophobia) ความกลัว ความอึดอัด การไม่มค ที่มีต่อการรักเพศเดียวกันหรือบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ การรังแกเนื่องจากการเกลียดกลัวการรักเพศเดียวกัน (Homophobic bullying) การรังแกที่มีฐานมาจากวิถีทางเพศ ่ ู้รังแกคิด หรืออัตลักษณ์ทางเพศของผู้ถูกกระทา ทั้งที่เป็นจริงหรือตามทีผ ความรุนแรงอันมีเหตุจากการรังเกียจการรักเพศเดียวกัน ความรุนแรงที่มีฐานมาจากวิถีทางเพศหรืออัตลักษณ์ทางเพศ ู้ ังแกคิด ของผู้ถูกกระทา ทั้งที่เป็นจริงหรือตามที่ผร อินเตอร์เซ็กส์ (Intersex) คากว้าง ๆ ที่ใช้ครอบคลุมถึงบุคคลที่เกิดมาพร้อมกับลักษณะทางเพศ เช่น ทางกายภาพ ฮอร์โมน หรือโครโมโซม เป็นต้น ไม่ตรงกับการให้ความหมายของเพศโดยอิงมาตรฐานร่างกายแบบทวิลักษณ์ (เป็นแบบ ชายหรือหญิงเท่านั้น) บุคคลที่เป็นอินเตอร์เซ็กส์อาจจะมีวิถีทางเพศหรืออัตลักษณ์ทางเพศแบบใดก็ได้ เลสเบี้ยน ผู้ที่นิยามตนเองว่าเป็นผู้หญิงและรักใคร่ชอบพอหรือมีแรงดึงดูดทางเพศกับผู้หญิง ชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย (MSM) ผู้ชายที่มีเพศสัมพันธ์กับผู้ชาย อาจจะเรียกตนเองว่าเป็น “เกย์” หรือ “รักเพศ เดียวกัน” หรือไม่ก็ได้ ix ความรุนแรงที่เกี่ยวกับเพศสภาพในโรงเรียน การกระทาหรือการคุกคามทางเพศ กายภาพ หรือจิตใจ ที่เกิดขึ้นหรือ รอบ ๆ บริบทของโรงเรียน ซึ่งการเกิดขึ้นเป็นผลของขนบหรือภาพเหมารวมของสังคมที่เกี่ยวกับเพศสภาพ และมักจะถูก ้ ได้ด้วยความไม่เท่าเทียมทางอานาจหรือทางกายภาพ อานวยให้เกิดขึน วิถีทางเพศ อัตลักษณ์ทางเพศ (Sexual orientation gender identity -- SOGI) ความดึงดูดทางกายภาพ ทาง จิตใจ ทางอารมณ์ หรือเชิงรักใคร่ (วิถีทางเพศ) อัตลักษณ์ทางเพศของบุคคลซึ่งอาจแตกต่างจากเพศที่ถูกกาหนดให้เมื่อ แรกเกิด การตีตรา (Stigma) ทัศนคติหรือการตัดสินที่มีต่อบุคคลหรือทางสังคม ที่ส่งผลในแง่ลบต่อบุคคลหรือคนในกลุ่มนั้น และ นาไปสู่การเลือกปฏิบัติ ทอม เป็นคาที่ประยุกต์มาจากคาศัพท์ภาษาอังกฤษ “ทอมบอย” เมื่อใช้ในภาษาไทยมีความหมายว่าเพศหญิงที่อาจจะ รู้สึกเหมือนผู้ชายมากกว่า ทอมอาจจะมีการแสดงออกภายนอกเป็นแบบชาย คนข้ามเพศ (Transgender) คากว้าง ๆ ที่หมายถึงคนที่อัตลักษณ์ทางเพศหรือการแสดงออกทางเพศแตกต่างจากเพศ ที่ถูกกาหนดให้เมื่อแรกเกิด อัตลักษณ์คนข้ามเพศไม่ขึ้นอยู่กับกระบวนการทางการแพทย์ ตัวอย่างของคนข้ามเพศ เช่น คนที่ถูกระบุให้เป็นเพศหญิงเมื่อแรกเกิดแต่นย ิ ามตนเองเป็นผู้ชาย (ผู้ชายข้ามเพศ) และคนที่ถูกระบุให้เป็นเพศชายเมื่อ แรกเกิดแต่นย ิ ามตนเองเป็นผูห้ ญิง (ผู้หญิงข้ามเพศ) x บทสรุปสาหรับผู้บริหาร ประเทศไทยมีภาพลักษณ์ ที่ก้าวหน้ากว่าหลายประเทศในกลุ่ม ประเทศที่กาลังพัฒนาที่มีระดับรายได้ปาน กลางในประเด็นเรื่องบทบาทและการมีส่วนร่วมของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ (LGBTI) ถึง กระนั้นผลการศึกษาวิจัยกลับแสดงผลให้ประจักษ์ว่ากลุ่ม บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศยังคงประสบปัญหา การเลือกปฏิบัติ ถูกจากัดในด้านโอกาสการทางานและสิทธิในการเป็นเจ้าของที่อยู่อาศัย และเผชิญกับอุปสรรค กีดขวางการเข้าถึงบริการพื้นฐานในหลาย ๆ ด้าน ข้อมูลส่วนใหญ่เกี่ยวกับ วิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ (SOGI) ในประเทศไทยมักเป็นข้อมูลในเชิงคุณภาพ ดังนั้นงานวิจัยฉบับใหม่ล่าสุดนี้ ที่ทางธนาคารโลกเป็นผู้นาและดาเนินการวิจัยร่วมกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ องค์ กร Love Frankie และกองทุ น นอร์ดิกทรัสต์ ฟัน ด์ ถือว่ าเป็น ความพยายามครั้งแรกในการรวบรวมและ วิเคราะห์ข้อมูล เชิงปริมาณและผลลั พธ์จากกลุ่ม ตัว อย่างที่ ครอบคลุ มและเป็นตั วแทนกลุ่ม เป้า หมายอย่ า งมี นัยสาคัญในมิติทางเศรษฐกิจและการเงินของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทย ประกอบกับ ข้อมูลเชิงคุณภาพที่ได้จากการสัมภาษณ์ การเก็บข้อมูลเชิงลึกในรูปแบบของ “เรื่องราวชีวิต” จากผู้ให้ข้อมูลที่มี ความหลากหลายทั้งในวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศจานวน 19 คนทั่วทุกภูมิภาคหลักของประเทศไทย หนุน เสริมข้อมูลที่ได้จากการทาสารวจผ่านช่องทางออนไลน์ และเผยให้เห็นภาพในระดับที่ลึกลงไปอีกเกี่ยวกับชีวิต ของกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามที่มีความหลากหลายทางเพศ นับเป็นครั้งแรกในประเทศไทยที่งานศึกษาวิจัยฉบับนี้ นาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับประชากรที่ไม่ใช่กลุ่มความหลากหลายทางเพศซึ่งสะท้อนทัศนคติของพวกเขาต่ อกลุ่ม บุคคลที่มีหลากหลายทางเพศ บนพื้นฐานของคาตอบที่ได้รับจากแบบสอบถามโดยกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่เพียง พอที่จะเป็นตัวแทนเชิงสถิติของประชากรที่ไม่ใช่กลุ่มความหลากหลายทางเพศ งานวิจัยฉบับนี้มุ่งเน้นการศึกษาว่ากลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศมีคุณค่ าต่อสังคมไทยในด้านเศรษฐกิจ และการเงินอย่างไร ทั้งในด้านโอกาสและการมีส่วนร่วม หรือการเลือกปฏิบัติและถูกกีดกัน ของพวกเขา งาน ศึกษานี้มุ่งเน้นการฉายภาพผลลัพธ์ที่แตกต่างกันของกลุ่มประชากรที่มีหลากหลายทางเพศและกลุ่มที่ไม่ใช่ความ หลากหลายทางเพศ ในเรื่องตลาดแรงงานและการจ้างงาน อสังหาริมทรัพย์ และตลาดการเงิน พร้อมทั้งศึกษาถึง อุปสรรค ความท้าทายในกลุ่มประชากรที่มีความหลากหลายทางเพศต้องเผชิญในการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา สาธารณสุขและบริการด้านต่าง ๆ ของรัฐ จากผลลัพธ์ของการศึกษา ประกอบกับประสบการณ์นานาชาติและ การทบทวนงานเขียนต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รายงานฉบับนี้จึงนาเสนอข้อเสนอแนะและแผนงานเชิงนโยบายที่จะช่วย เปิ ด กว้ า งซึ่ ง โอกาสส าหรับ ประชากรที่ มีความหลากหลายทางเพศและก่อให้ เกิด การแบ่ง ปันความมั่ งคั่งแก่ ประชาชนไทยทุกคนอย่างทั่วหน้า xi เสียงตอบกลับจากชุมชนของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ในการตอบแบบสารวจออนไลน์ที่เป็น องค์ประกอบหนึ่งของงานวิจัยครั้งนี้ ร้อยละ 60 ของกลุ่มคนข้ามเพศ (transgender people) ร้อยละ 30 ของกลุ่มเลสเบี้ยน และร้อยละ 20 ของกลุ่มเกย์ตอบว่ามีการเลือกปฏิบัติใน การทางานของพวกเขา มากกว่าครึ่งหนึ่งของคนที่ตอบแบบสอบถามกล่าวว่า ใบสมัครของพวกเขาโดนปฏิเสธ ด้วยเหตุแห่งการมีอัตลักษณ์เป็นบุคคลที่มีหลากหลายทางเพศ บุคคลอินเตอร์เซ็กซ์คนหนึ่งในกรุงเทพฯ กล่าวว่า “ฉันสมัครไป แต่พวกเขาบอกฉันว่า ‘ตาแหน่งงานนี้สาหรับ ผู้หญิงเท่านั้น เธอไม่ใช่ผู้หญิง’ ดังนั้นพวกเขาจ้างฉันไม่ได้ ‘ฉัน รู้นะว่าเธอมีความสามารถ ผู้คนเขาสรรเสริญเธอ แต่ว่าสาหรับ ตาแหน่งนี้ ทางผู้ใหญ่เขาต้องการผู้หญิงแท้ๆ เธอไม่ใช่ผู้หญิง เธอมีคานาหน้าชื่อว่า นาย’” --บุคคลเพศกากวมวัย 27 ปีจากปริมณฑล กรุงเทพฯ ข้อค้นพบในลักษณะนี้สวนทางกับความก้าวหน้าของประเทศไทยที่ได้พัฒนากฎหมายเพื่อยุติการเลือกปฏิบัติต่อ บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ประเทศไทยเป็นภาคีในอนุสัญญาสหประชาติว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติ ต่อผู้หญิง ซึ่งภายใต้กลไกนี้ได้มีการกาหนดข้อเสนอแนะทั่วไปเพื่อขจัดการเลือกปฏิบัติที่ครอบคลุมเหตุแห่ง วิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ นอกจากนี้ประเทศไทยประกาศใช้พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ.2558 ที่มีบทบัญญัติ ว่า การเลือกปฏิบัติต่อบุคคลที่ มีรูปลักษณ์ภายนอกไม่ตรงกับเพศกาเนิด เป็นสิ่งที่ผิด กฎหมาย อย่างไรก็ดี ผู้เข้าร่วมกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศให้ข้อมูลในงานศึกษาครั้งนี้รายงานว่า มีการเลือก ปฏิบัติเกิดขึ้นในเรื่องการเข้าถึงโอกาสในการทางาน การรับบริการของรัฐ การศึกษาหรือฝึกอบรม และบริการ ด้านสาธารณสุข ตลอดจนการซื้อหรือเช่าอสังหาริมทรัพย์ ภาพที่ 1 แสดงให้เห็นถึงคาตอบที่ได้รับจากการสารวจ ออนไลน์ บุคคลจานวน 3,502 คนที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย: โดยในจานวนนี้ 1,200 คนเป็นผู้ตอบแบบสอบถาม ที่ไม่ใช่กลุ่มความหลากหลายทางเพศ และผู้ตอบแบบสอบถามที่เป็นกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ จานวน 2,302 คนที่ระบุตนว่าเป็นเกย์ เลสเบี้ยน คนข้ามเพศ อินเตอร์เซ็กซ์ หรือเพศอื่น ๆ การสารวจครั้งนี้เป็น ความพยายามในการรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณที่ใหญ่ที่สุดเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจของกลุ่มบุคคลที่มี ความหลากหลายทางเพศ ในประเทศไทยและในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก xii ภาพที่ 1 กลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทยรายงานว่ามีการเลือกปฏิบัติในทุก ๆ ด้านของ ชีวิตในทางเศรษฐกิจและสังคม ข้อมูลแจกแจงตามกลุ่มย่อย (ร้อยละ) ข้อค้นพบที่สาคัญจากการสารวจ ในบรรดาผลลัพธ์ทั้งหมดที่ได้มาจากการตอบแบบสารวจมีห้าประเด็นสาคัญที่ปรากฎให้เห็นอย่างเด่นชัดเกี่ยวกับ คาถามที่ว่าในปัจจุบันบุคคลที่มีหลากหลายทางเพศเผชิญสภาวะทางเศรษฐกิจและทางการเงินเช่นใดบ้างใน สังคมไทย xiii ข้อค้นพบที่ 1 มีเพียงร้อยละ 7 ของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ กับร้อยละ 1 ของกลุ่มที่ไม่ใช่ผู้มี ความหลากหลายทางเพศที่เข้าร่วมการสารวจตอบว่าพวกเขาตระหนักรู้ว่าในประเทศไทยมีกฎหมายที่ห้าม การเลือกปฏิบัติต่อบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศมากกว่าครึ่ง (51%) ของคนที่ตอบแบบสอบถามใน กลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศและมากกว่าสองในสาม (69%) ของผู้ตอบแบบสารวจที่ไม่ใช่กลุ่มผู้ มีความหลากหลายทางเพศ กล่าวว่าพวกเขาไม่รู้ว่ามีกฎหมายดังกล่าวอยู่ (ดูภาพ 2) ประเทศไทยประกาศให้ ความคุ้มครองต่อกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในทางกฎหมาย รวมทั้งพระราชบัญญัติความเท่าเทียม ระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 ี วาม ภาพที่ 2 ผู้ตอบแบบสารวจส่วนใหญ่ไม่รู้ว่ามีกฎหมายที่ห้ามเลือกปฏิบัติและกีดกันบุคคลที่มค หลากหลายทางเพศ (ร้อยละ) ข้อค้นพบที่ 2 ผู้ตอบแบบสารวจในกลุ่ม บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศรายงานว่า การเลือกปฏิบัติ ร้ายแรงที่สุดเกิดขึ้นในตลาดแรงงาน ตามมาด้วยในตลาดอสังหาริมทรัพย์ ในกรณีที่พวกเขาประสงค์จะเช่า หรือซื้ออสังหาริมทรัพย์ (ดูภาพที่ 1) การเลือกปฏิบัติในการทางานที่ประชากรเลสเบี้ยน เกย์ คนข้ามเพศตอบ แบบสารวจเกิดขึ้นในหลายรูปแบบ โดยประเภทที่พบบ่อยที่สุดคือ การถูกปฏิเสธใบสมัครงาน และการคุกคามใน สถานที่ทางาน (ดูภาพที่ 3) ผู้ตอบแบบสารวจที่เป็นคนข้ามเพศประสบสภาพปัญหาที่เลวร้ายที่สุดกล่าวคือ ร้อย xiv ละ 77 ของคนที่ตอบแบบสารวจกล่าวว่า พวกเขาถูกปฏิเสธตั้งแต่ขั้นตอนการสมัครงานด้วยเหตุแห่งอัตลักษณ์ ทางเพศของพวกเขา ร้อยละ 40 กล่าวว่าโดนคุกคาม ประมาณครึ่งหนึ่งของกลุ่มเกย์ (49%) กับ ร้อยละ 62 ของ กลุ่ม เลสเบี้ยนกล่าวว่าการสมัครงานของพวกเขาถูกปฏิเสธด้วยเหตุแห่งวิถี ทางเพศหรืออัตลักษณ์ทางเพศของ พวกเขา ประมาณหนึ่งในห้าของกลุ่มเกย์กล่าวว่าพวกเขาถูกมองข้ามในช่วงเวลาที่มีการพิจารณาเลื่อนตาแหน่ง หรือไม่ได้รับสวัสดิการที่เกี่ยวข้องกับการทางานเพราะสถานภาพความเป็นบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ของพวกเขา ภาพที่ 3 ผู้ตอบแบบสารวจที่เป็นบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศกล่าวว่ามีการเลือกปฏิบัติใน ตลาดแรงงานอย่างกว้างขวาง ั ิในตลาดแรงงานทั่วทุกภาค บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศประสบกับการเลือกปฏิบต การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับงานและในแวดวงการทางานมีลักษณะแตกต่างหลากหลายกันไปตามอาชีพและภาค เศรษฐกิจกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศจะไม่สามารถเข้าถึงอาชีพในหน่วยงานตารวจกับ ภาคส่วนที่ xv เกี่ยวข้องกับการบังคับใช้กฎหมาย กองทัพ และสถาบันเกี่ยวกับศาสนาได้ (ดูภาพที่ 4) ในทางตรงกันข้าม พวก เขาสามารถเข้าไปทางานได้ง่ายขึ้นในภาคการเกษตร ธุรกิจค้าปลีก ความงามและสุขภาพ ข้อค้นพบในมุมนี้บ่งชี้ เรื่องการแบ่งแยกกีดกันทางอาชีพด้วยเหตุแห่ง วิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศกับข้อจากัดในความคล่องตัว และความก้าวหน้าทางอาชีพของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในตลาดแรงงาน มากกว่าครึ่งหนึ่ง (เกือบ 53%) ของผู้ตอบแบบสารวจที่เป็น กลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศรายงานว่า ประสบปัญหาทางอารมณ์ รวมถึงโรคซึมเศร้า วิตกกังวลและคับข้องใจ อันสืบเนื่องมาจากการถูกเลือกปฏิบัติหรือ การกีดกันในตลาดการงาน ภาพที่ 4 ภาคอาชีพที่ผู้ตอบแบบสอบถามกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศระบุว่า ยากหรือแทบ เป็นไปไม่ได้ที่จะได้งาน (ร้อยละ) ข้อค้นพบที่ 3 ผู้ตอบแบบสอบถามกลุ่ม บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศเผชิญอุปสรรคท้าทายสาคัญใน การเข้าถึงบริการของรัฐ เช่นการขอออกบัตรประจาตัวประชาชน หนังสือเดินทางหรือเอกสารประจ าตัว xvi สาคัญอื่นๆ ที่สาคัญที่สุด กลุ่มเกย์ร้อยละ 40.6 กลุ่มเลสเบี้ยนร้อยละ 36.4% และ กลุ่มคนข้ามเพศร้อยละ 46.9 ของที่ร่วมตอบแบบสารวจกล่าวว่า พวกเขาไม่ได้รับบริการที่พวกเขาแสวงหาจากรัฐ (ดูภาพที่ 5) ครึ่งหนึ่งของผู้ตอบแบบสอบถามกลุ่ม บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ตอบว่าพวกเขาได้รับการปฏิบัติแบบ ไม่ให้เกียรติในยามที่ไปขอรับบริการจากรัฐ และมากกว่าร้อยละ 30 กล่าวว่าพวกเขาโดนคุกคามหรือล้อเลียน และถูกเรียกร้องให้ต้องทาตามข้อบังคับ เพิ่มเติมมากกว่าประชาชนทั่วไปในยามที่ต้องการใช้บริการรัฐ ผู้ตอบ แบบสอบถามกลุ่ม บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศกลุ่มใหญ่มากประสบความทุกข์ยากลาบากทั้งในด้าน การเงิน อารมณ์ ทั้งในเรื่องส่วนตัวและทางด้านกฎหมาย เพราะการเลือกปฏิบัติที่เผชิญในเวลาที่แสวงหาบริการ ภาครัฐ xvii ภาพที่ 5 ผลที่สืบเนื่องมาจากการถูกเลือกปฏิบัติเมื่อเข้าถึงบริการภาครัฐ แจงตามกลุ่มอัตลักษณ์ย่อย (ร้อยละ) ข้อค้นพบเรื่องที่ 4 .ในบรรดาผู้ตอบแบบสอบถามในกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศกลุ่มคนข้ามเพศ รายงานถึงประสบการณ์เลือกปฏิบัติและกีดกันที่พวกเขาพบบ่อยที่สุดและร้ายแรงที่สุด ในประเด็นเดียวกันนี้ กลุ่มเลสเบี้ยนรายงานถึงผลลัพธ์ที่ออกมาเลวร้ายกว่าของกลุ่มเกย์ ตัวอย่างเช่น ร้อยละ 60 ของกลุ่มคนข้าม xviii เพศแจ้งว่าพวกเขามีประสบการณ์ถูกเลือกปฏิบัติในเรื่องการทางาน ซึ่งเป็นผลลัพธ์ตัวเลขที่ตรงกันข้ามกับร้อยละ 29 ของกลุ่มเลสเบี้ยน และ ร้อยละ 19 ของบรรดากลุ่มเกย์ในประสบการณ์รูปแบบเดียวกันนี้ ซึ่งก็คือการเลือก ปฏิบัติอย่างมากต่อคนข้ามเพศ ตามมาด้วยระดับที่ร้ายแรงตามลาดับในกลุ่มเลสเบี้ยนกับกลุ่มเกย์ และยังปรากฏ ชัดเจนในการเข้าถึงบริการภาครัฐทุกประเภท ตั้งแต่การศึกษาและฝึกอบรม การประกันชีวิตหรือประกันสุขภาพ และผลิตภัณฑ์ทางการเงินรวมถึงการเช่าบ้าน มีข้อยกเว้นประการเดียวคือการซื้ออสังหาริมทรัพย์ อันเป็นกรณีที่ กลุ่มเลสเบี้ยนประสบกับการเลือกปฏิบัติมากที่สุด ตามมาด้วยกลุ่ มคนข้ามเพศและกลุ่มเกย์ ซึ่งมีผู้หญิงข้ามเพศ กับเกย์เล่าประสบการณ์ของตนว่า “ปัญหาหลักเลยก็คือคานาหน้าชือ ่ ของฉัน เมื่อฉันต้อง ติดต่อธนาคาร พวกเขาก็มักจะมีปัญหากับบัตร ประชาชนของฉัน เพราะมันเขียนคานาหน้าว่า นาย รูปภาพก็เป็นรูปเก่า พวกเขามักจะสงสัยและบอกว่า ต้องสืบหาข้อมูลเพิ่มเติม” “คนข้ามเพศไม่ได้รับการปฏิบัติอย่าง -- ผู้หญิงข้ามเพศ อายุ 20 ปีจากภาคกลาง เท่าเทียมกันในชุมชน พวกเขาเป็นที่ดู ้ สอง” ถูกในฐานะที่เป็นประชาชนชัน --เกย์วัย 26 ปีจากภาคใต้ ข้ อ ค้ น พบเรื่ อ งที่ 5 มากกว่ า หนึ่ ง ในสาม (ร้ อ ยละ 37.4) ของผู้ ต อบแบบส ารวจที่ ไ ม่ ใ ช่ ก ลุ่ ม ผู้ มี ค วาม หลากหลายทางเพศ บอกว่ายอมรับได้หากว่าผู้จ้างงานเลือกปฏิบัติต่อบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ เกือบครึ่งหนึ่ง (ร้อยละ 48) กล่าวว่าเป็นเรื่องสมเหตุผลแล้วที่กลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศประสบ กับการเลือกปฏิบัติบางรูปแบบในเวลาที่เข้าใช้บริการรัฐ (ดูภาพที่ 6) xix ภาพที่ 6 สัดส่วนของผู้ตอบแบบสอบถามที่ไม่ใช่กลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศที่เชื่อว่าการเลือกปฏิบัติ บางรูปแบบต่อกลุ่มคนหลากหลายทางเพศเป็นเรื่องที่ยอมรับได้ (ร้อยละ) ่ บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศเป็นส่วนหนึ่งของสังคมไทยอย่างแท้จริง ทางเลือกในการเปิดทางให้กลุม ประเทศไทยอยู่ในฐานะที่ดีที่จะเป็นผู้นาในระดับโลกด้านการมีส่วนร่วมของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทาง เพศ และสามารถที่จะเป็นแบบอย่างสาหรับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคเอเชีย การขับเคลื่อนจากจุดยืนว่าด้วยการ ยอมรับได้ไปสู่การเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างเต็มที่ จาเป็นต้องได้รับการหนุนเสริมจาก นโยบายและการปฏิบัติในหลายด้าน รวมทั้งการสร้างความตระหนัก รู้ที่กว้างขวางขึ้น และการดาเนินงานพร้อม ทั้งพัฒนากรอบกฎหมายของประเทศให้มีความก้าวหน้า รายงานฉบับนี้นาเสนอทางเลือกต่าง ๆ ในการพัฒนา นโยบายและแผนปฏิบัติงาน โดยได้บูรณาการประสบการณ์และแนวปฏิบัติที่ดีจากนานาชาติ ด้วยความหวังว่าจะ มีการขจัดการเลือกปฏิบัติและส่งเสริมความเท่าเทียมกัน ความเป็นธรรม และความมั่งคั่งทั่วหน้าของประชาชน ไทย สาหรับทางเลือกด้านนโยบายและโครงการที่ระบุถึงการปฏิบัติโดยเฉพาะในหกประเด็นหลักได้มีการสุรปไว้ใน ตารางที่ 1 พร้อมกับหน่วยงานรับผิดชอบหลักและระยะเวลา xx ตารางที่ 1 การมี ส่ ว นร่ ว มของกลุ่ ม บุ ค คลที่ มี ค วามหลากหลายทางเพศ ในประเทศไทย ทางเลื อ กนโยบาย ข้ อ เสนอแนะมาตรการทางนโยบาย หน่ ว ยงานและองค์ ก รรั บ ผิ ด ชอบหลั ก ช่ ว งเวลา การสร้ า งความตระหนั ก รู้ เ รื่ อ งนโยบายสาธารณะ 1. พั ฒ นาและดาเนิ น โครงการรณรงค์ ส ร้ า งความ หน่ ว ยงานหลั ก ระยะสั้ น และระยะ ตระหนั ก รู้ แ ก่ ส าธารณชนในเรื่ อ งความเท่ า เที ย ม • กระทรวงการพั ฒ าสั ง คมและความ กลาง ระหว่ า งเพศ เรื่ อ งสิ ท ธิ ใ นวิ ถี ท างเพศและอั ต ลั ก ษณ์ มั่ น คงของมนุ ษ ย์ ทางเพศ (SOGI) และความหลากหลายทางเพศ ขั บ เคลื่ อ นร่ ว มกั บ : กฏหมายที่ ว่ า ด้ ว ยการห้ า มเลื อ กปฏิ บั ติ แ ละนโยบาย • กระทรวงยุ ติ ธ รรม ตลอดทั้ ง กลไกรั ฐ โดยครอบคลุ ม ไปถึ ง ภาคเอกชน • กระทรวงแรงงาน ประชาสั ง คม องค์ ก รสื่ อ สารมวลชน และสั ง คมใน • คณะกรรมการวิ นิ จ ฉั ย การเลื อ ก ภาพรวม โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ด้ ว ยวิ ธี ปฏิ บั ติ โ ดยไม่ เ ป็ น ธรรมระหว่ า งเพศ ก. จั ด การอบรม สร้ า งความตระหนั ก และ (วลพ.) สร้ า งเสริ ม ศั ก ยภาพในประเด็ น ความเสมอ • คณะกรรมการสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนและ ภาคระหว่ า งเพศ ความหลากหลายทางเพศ หน่ ว ยงานต้ น เรื่ อ งต่ า ง ๆ และวิ ถี ท างเพศและอั ต ลั ก ษณ์ ท างเพศในภาค • สานั ก งานคณะกรรมการข้ า ราชการ แรงงาน การศึ ก ษา สาธารณสุ ข และบริ ก าร พลเรื อ น สานั ก นายกรั ฐ มนตรี หลั ก อื่ น ๆที่ ห น่ ว ยงานรั ฐ เป็ น ผู้ จั ด บริ ก าร • กระทรวงดิ จิ ทั ล เพื่ อ เศรษฐกิ จ และ ข. สร้ า งความตระหนั ก และจิ ต สานึ ก ด้ า น สั ง คม ความละเอี ย ดอ่ อ นในกลุ่ ม เจ้ า หน้ า ที่ รั ฐ ครู • สมาคมนั ก ข่ า วนั ก หนั ง สื อ พิ ม พ์ แ ห่ ง แพทย์ และบุ ค ลากรด้ า นการศึ ก ษาและ ประเทศไทย สานั ก งาน สาธารณสุ ข เกี่ ย วกั บ กฎหมายและนโยบายว่ า คณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย ง ด้ ว ยการห้ า มเลื อ กปฏิ บั ติ ใ นวิ ถี ท างเพศ กิ จ การโทรทั ศ น์ และกิ จ การ และอั ต ลั ก ษณ์ ท างเพศของบุ ค คล โทรคมนาคมแห่ ง ชาติ (กสทช.) และ 2. ในฐานะกลุ่ ม บุ ค คลที่ มี ค วามหลากหลายทางเพศที่ องค์ ก รสื่ อ ต่ า ง ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เป็ น องค์ ป ระกอบหนึ่ ง ของการนาพาประเทศไทยสู่ ความเป็ น “ Thailand 4.0” รั ฐ บาลต้ อ งแสดง เจตน์ จานงในระดั บ สู ง ในการเปิ ด พื้ น ที่ ก ารมี ส่ ว น ร่ ว มให้ ก ลุ่ ม บุ ค คลที่ มี ค วามหลากหลายทางเพศเข้ า เป็ น พลั ง ของสั ง คมมากยิ่ ง ขึ้ น และต้ อ งยื น ยั น ว่ า ประชาชนไทยทุ ก คนมี สิ ท ธิ แ ละโอกาสที่ เ ท่ า เที ย ม กั น โดยไม่ มี เ ส้ น แบ่ ง เกี่ ย วกั บ เพศ วิ ถี ท างเพศ หรื อ อั ต ลั ก ษณ์ ท างเพศ ตั ว อย่ า งเช่ น ผู้ นารั ฐ บาล 21 ตารางที่ 1 การมี ส่ ว นร่ ว มของกลุ่ ม บุ ค คลที่ มี ค วามหลากหลายทางเพศ ในประเทศไทย ทางเลื อ กนโยบาย ข้ อ เสนอแนะมาตรการทางนโยบาย หน่ ว ยงานและองค์ ก รรั บ ผิ ด ชอบหลั ก ช่ ว งเวลา อาจแถลงนโยบายดั ง กล่ า ว หรื อ กาหนดให้ มี ก าร ขั บ เคลื่ อ นเรื่ อ งการมี ส่ ว นร่ ว มของกลุ่ ม บุ ค คลที่ มี ความหลากหลายทางเพศทั่ ว ประเทศ ความเท่ า เที ย มของบุ ค คลที่ มี ค วามหลากหลายทางเพศ และการไม่ เ ลื อ กปฏิ บั ติ ด้ ว ยเหตุ แ ห่ ง วิ ถี ท างเพศและอั ต ลั ก ษณ์ ท างเพศในการจ้ า งงาน 1. พั ฒ นาร่ า งและบั ง คั บ ใช้ ก ฎหมายเกี่ ย วกั บ ความเท่ า องค์ ก รหลั ก ระยะปานกลาง เที ย มและห้ า มมิ ใ ห้ มี ก ารเลื อ กปฏิ บั ติ ใ นการจ้ า ง • กระทรวงแรงงาน งานและวิ ช าชี พ เพื่ อ เป็ น หลั ก ประกั น การไม่ เ ลื อ ก ขั บ เคลื่ อ นร่ ว มกั บ ปฏิ บั ติ ด้ ว ยเหตุ แ ห่ ง วิ ถี ท างเพศและอั ต ลั ก ษณ์ ท าง • คณะกรรมการวิ นิ จ ฉั ย การเลื อ ก เพศ ปฏิ บั ติ . โดยไม่ เ ป็ น ธรรมระหว่ า งเพศ 2. จั ด ตั้ ง กลไกการบั ง คั บ ใช้ แ ละติ ด ตามผลการปฏิ บั ติ (คณะกรรมการวลพ.) ตามกฏหมายใหม่ ดั ง กล่ า ว และให้ มี ก ารเยี ย วยาใน • กระทรวงการพั ฒ นาสั ง คมและความ กรณี ที่ มี ก ารเลื อ กปฏิ บั ติ เ กิ ด ขึ้ น โดยเฉพาะอย่ า ง มั่ น คงมนุ ษ ย์ ยิ่ ง กั บ กลุ่ ม คนข้ า มเพศ • ภาคเอกชน 3. จั ด ตั้ ง คณะกรรมการการจ้ า งงานอย่ า งเท่ า เที ย ม และส่ ง เสริ ม บทบาทของคณะกรรมการดั ง กล่ า วใน ฐานะกลไกร้ อ งทุ ก ข์ ร ะดั บ ประเทศ 4. ส่ ง เสริ ม การสานเสวนาทางสั ง คมระหว่ า งนายจ้ า ง ในภาคเอกชน กลุ่ ม ลู ก จ้ า งและพนั ก งานซึ่ ง เป็ น บุ ค คลมี ค วามหลากหลายทางเพศในการคุ้ ม ครอง สิ ท ธิ ลู ก จ้ า ง และส่ ง เสริ ม การไม่ เ ลื อ กปฏิ บั ติ ด้ ว ย เหตุ แ ห่ ง วิ ถี ท างเพศและอั ต ลั ก ษณ์ ท างเพศ ความเท่ า เที ย มกั น ในการดู แ ลสุ ข ภาพของบุ ค คลที่ มี ค วามหลากหลายทางเพศ 1. จั ด ทาแนวปฏิ บั ติ และบู ร ณาการประเด็ น การไม่ องค์ ก รหลั ก ระยะสั้ น และระยะ เลื อ กปฏิ บั ติ ด้ ว ยเหตุ แ ห่ ง วิ ถี ท างเพศและอั ต ลั ก ษณ์ • กระทรวงสาธารณสุ ข ปานกลาง ทางเพศ เข้ า ไว้ ใ นหลั ก สู ต รการฝึ ก อบรมบุ ค ลากรที่ ขั บ เคลื่ อ นร่ ว มกั บ ให้ บ ริ ก ารด้ า นสาธารณสุ ข • กรมอนามั ย • กรมสุ ข ภาพ 22 ตารางที่ 1 การมี ส่ ว นร่ ว มของกลุ่ ม บุ ค คลที่ มี ค วามหลากหลายทางเพศ ในประเทศไทย ทางเลื อ กนโยบาย ข้ อ เสนอแนะมาตรการทางนโยบาย หน่ ว ยงานและองค์ ก รรั บ ผิ ด ชอบหลั ก ช่ ว งเวลา 2. พั ฒ นาและใช้ ม าตรการป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ ผู้ ใ ห้ บ ริ ก าร • กรมสนั บ สนุ น การบริ ก ารสุ ข ภาพ ด้ า นประกั น สุ ข ภาพเอกชนซั ก ถามเกี่ ย วกั บ วิ ถี ท าง • กระทรวงยุ ติ ธ รรม เพศและอั ต ลั ก ษณ์ ท างเพศของบุ ค คล • สานั ก งานคณะกรรมการกากั บ และ 3. พั ฒ นาและนามาใช้ ซึ่ ง มาตรการทางกฎหมายที่ ส่ ง เสริ ม การประกอบธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย กาหนดให้ บ ริ ษั ท ประกั น ชี วิ ต เอกชนต้ อ งออก กระทรวงพาณิ ช ย์ กรมธรรม์ คุ้ ม ครองผู้ เ อาประกั น ที่ เ ปิ ด ทางให้ คู่ ชี วิ ต • สานั ก งานกองทุ น ประกั น สั ง คม ไม่ ว่ า จะแต่ ง งานหรื อ ไม่ ไ ด้ แ ต่ ง งานก็ ต าม ไม่ ว่ า จะมี • ภาคเอกชน (บริ ษั ท ประกั น ต่ า ง ๆ) เพศหรื อ อั ต ลั ก ษณ์ ท างเพศใดก็ ต าม สามารถมี สิ ท ธิ เป็ น ผู้ รั บ ผลประโยชน์ จ ากการเอาประกั น ภั ย ได้ การมี ส่ ว นร่ ว มในการศึ ก ษาสาหรั บ ทุ ก คน 1. บู ร ณาการแนวปฏิ บั ติ ว่ า ด้ ว ยความเท่ า เที ย ม องค์ ก รหลั ก ระยะสั้ น และระยะ ระหว่ า งเพศและการไม่ เ ลื อ กปฏิ บั ติ ด้ ว ยเหตุ แ ห่ ง • กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ปานกลาง วิ ถี ท างเพศและอั ต ลั ก ษณ์ ท างเพศไว้ ใ นหลั ก สู ต ร ขั บ เคลื่ อ นร่ ว มกั บ การฝึ ก อบรมทั้ ง ก่ อ นและระหว่ า งการปฏิ บั ติ ง าน • กระทรวงการพั ฒ นาสั ง คมและความ ของผู้ บ ริ ห ารโรงเรี ย นและครู ทั้ ง ที่ ป ฏิ บั ติ ง านอยู่ ใ น มั่ น คงมนุ ษ ย์ ปั จ จุ บั น และที่ รั บ เข้ า มาปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ หม่ • คณะกรรมการวลพ. 2. สร้ า งความตระหนั ก รู้ ใ นชุ ม ชนโรงเรี ย นทั้ ง หมด • กรุ ง เทพมหานคร (กทม.) เกี่ ย วกั บ การไม่ เ ลื อ กปฏิ บั ติ ด้ ว ยเหตุ แ ห่ ง วิ ถี ท างเพศ • สถาบั น อื่ น ๆ ที่ กากั บ ดู แ ลระบบ และอั ต ลั ก ษณ์ ท างเพศ การรายงานเหตุ ค วาม การศึ ก ษา รวมทั้ ง กรมส่ ง เสริ ม การ รุ น แรงและกลไกการส่ ง ต่ อ เพื่ อ ให้ เ กิ ด การดู แ ลอย่ า ง ปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ที่ มี โ รงเรี ย นใน ต่ อ เนื่ อ ง พร้ อ มสร้ า งขี ด ความสามารถในการใช้ สั ง กั ด ในหลายพื้ น ที่ กลไกนั้ น เพื่ อ ป้ อ งกั น และรั บ มื อ เมื่ อ เกิ ด เหตุ ค วาม รุ น แรงและการเลื อ กปฏิ บั ติ ด้ ว ยเหตุ แ ห่ ง วิ ถี ท างเพศ และอั ต ลั ก ษณ์ ท างเพศ รวมทั้ ง การรั ง แกและการ คุ ก คามทางโลกไซเบอร์ ความเสมอภาคในสิ ท ธิ ต ามกฎหมาย 1. ให้ มี ก ารออกกฎหมายรั บ รองเพศสภาพ องค์ ก รหลั ก ระยะปานกลาง 2. ให้ มี ก ารออกกฎหมายที่ รั บ รองสถานะคู่ ชี วิ ต ของ • กระทรวงยุ ติ ธ รรม คนเพศเดี ย วกั น โดยให้ ก ฎหมายนี้ คานึ ง ถึ ง แนว ขั บ เคลื่ อ นร่ ว มกั บ ปฏิ บั ติ ที่ ดี ที่ สุ ด ที่ จ ะอนุ ญ าตและรั บ รองการใช้ ชี วิ ต • กรมคุ้ ม ครองสิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพ 23 ตารางที่ 1 การมี ส่ ว นร่ ว มของกลุ่ ม บุ ค คลที่ มี ค วามหลากหลายทางเพศ ในประเทศไทย ทางเลื อ กนโยบาย ข้ อ เสนอแนะมาตรการทางนโยบาย หน่ ว ยงานและองค์ ก รรั บ ผิ ด ชอบหลั ก ช่ ว งเวลา คู่ อ ย่ า งมี เ สถี ย รภาพระหว่ า งบุ ค คลสองคน บน • คณะกรรมการสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน พื้ น ฐานที่ เ ท่ า เที ย มกั น โดยไม่ คานึ ง ถึ ง เพศสภาพ แห่ ง ชาติ แ ละองค์ ก รที่ มี ห น้ า ที่ วิ ถี ท างเพศ หรื อ อั ต ลั ก ษณ์ ท างเพศ รั บ ผิ ด ชอบอื่ น ๆ 3. บู ร ณาการประเด็ น วิ ถี ท างเพศและอั ต ลั ก ษณ์ ท าง เพศอย่ า งเต็ ม รู ป แบบเข้ า ไว้ ใ นพระราชบั ญ ญั ติ ความเท่ า เที ย มระหว่ า งเพศ พ.ศ. 2558 และการ ส่ ง เสริ ม ความเสมอภาคระหว่ า งเพศในแผนพั ฒ นา หรื อ นโยบายการพั ฒ นาในประเทศ 4. สนั บ สนุ น อย่ า งจริ ง จั ง ให้ ก ลุ่ ม เลสเบี้ ย น ไบเซ็ ก ชวล และผู้ ห ญิ ง ข้ า มเพศในทุ ก ๆ ความพยายามให้ เ กิ ด การมี ส่ ว นร่ ว มเพื่ อ ส่ ง เสริ ม ความเท่ า เที ย มระหว่ า ง เพศ เรื่ อ งสิ ท ธิ ผู้ ห ญิ ง การเสริ ม พลั ง ให้ ผู้ ห ญิ ง และ การป้ อ งกั น ความรุ น แรงต่ อ ผู้ ห ญิ ง และเด็ ก 5. เสริ ม สร้ า งและบั ง คั บ ใช้ ค วามคุ้ ม ครองทาง กฎหมายต่ อ ความรุ น แรงทุ ก รู ป แบบอั น เนื่ อ งมาจากเพศสภาพ และต่ อ กลุ่ ม บุ ค คลที่ มี ความหลากหลายทางเพศ การศึ ก ษาวิ จั ย เพื่ อ เติ ม เต็ ม ช่ อ งว่ า งทางความรู้ 1. เก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล เชิ ง ปริ ม าณในภาคส่ ว นหลั ก โดย องค์ ก รหลั ก ระยะสั้ น และระยะ แจกแจงมิ ติ วิ ถี ท างเพศและอั ต ลั ก ษณ์ ท างเพศ • กระทรวงการพั ฒ นาสั ง คมและความ ปานกลาง 2. พั ฒ นาและบู ร ณาการฐานข้ อ มู ล ที่ ผ สมผสานกรณี มั่ น คงมนุ ษ ย์ ต่ า ง ๆ และข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ การกี ด กั น กลุ่ ม บุ ค คลที่ มี ขั บ เคลื่ อ นร่ ว มกั บ ความหลากหลายทางเพศจากหน่ ว ยงานภาครั ฐ ที่ • กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร เกี่ ย วข้ อ งและจากองค์ ก รประชาสั ง คม • สานั ก งานสถิ ติ แ ห่ ง ชาติ แ ละ 3. เพิ่ ม เติ ม ส่ ว นข้ อ มู ล ที่ ว่ า ด้ ว ยวิ ถี ท างเพศและอั ต - หน่ ว ยงานรั บ ผิ ด ชอบตรง ลั ก ษณ์ ท างเพศ ในการทาสารวจระดั บ ประเทศหรื อ • สานั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การวิ จั ย ทาข้ อ มู ล ทะเบี ย นราษฏร์ จ ากกระทรวงที่ มี ห น้ า ที่ สถาบั น วิ จั ย ต่ า ง ๆ รั บ ผิ ด ชอบ • องค์ ก รเอกชน 4. วิ เ คราะห์ แ นวปฏิ บั ติ ที่ ดี ที่ สุ ด ในการป้ อ งกั น และ เผชิ ญ เหตุ ค วามรุ น แรงที่ มี พื้ น ฐานจากวิ ถี ท างเพศ 24 ตารางที่ 1 การมี ส่ ว นร่ ว มของกลุ่ ม บุ ค คลที่ มี ค วามหลากหลายทางเพศ ในประเทศไทย ทางเลื อ กนโยบาย ข้ อ เสนอแนะมาตรการทางนโยบาย หน่ ว ยงานและองค์ ก รรั บ ผิ ด ชอบหลั ก ช่ ว งเวลา และอั ต ลั ก ษณ์ ท างเพศ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ใน โรงเรี ย น เพื่ อ สร้ า งสั ง คมที่ ทุ ก คนมี ส่ ว นร่ ว มที่ เ ท่ า เที ย มกั น อย่ า งแท้ จ ริ ง 5. ทาการประเมิ น นโยบายและโครงการต่ า งๆ ที่ เกี่ ย วกั บ ประเด็ น วิ ถี ท างเพศและอั ต ลั ก ษณ์ ท างเพศ ในประเทศไทย 6. ดาเนิ น การจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล อย่ า งเป็ น ระบบเกี่ ย วกั บ การรายงานเหตุ ค วามรุ น แรงต่ อ กลุ่ ม บุ ค คลที่ มี ความหลากหลายทางเพศ 7. ให้ ทุ น การทาวิ จั ย ศึ ก ษาเพื่ อ ประเมิ น มู ล ค่ า ของ ต้ น ทุ น ทางเศรษฐกิ จ และการเงิ น ที่ ก ระทบต่ อ สั ง คม อั น มี ส าเหตุ จ ากการกี ด กั น และปฏิ บั ติ อ ย่ า งไม่ เ ท่ า เที ย มกั บ กลุ่ ม บุ ค คลที่ มี ค วามหลากหลายทางเพศ และประโยชน์ ข องการที่ ใ ห้ พ วกเขาได้ มี ส่ ว นร่ ว ม เต็ ม ที่ 25 01 บทนำ กำรกีดกันอันมีเหตุมำจำกวิถีทำงเพศและอัตลักษณ์ทำงเพศยังคงเป็นปัญหำทั้งในประเทศพัฒนำแล้วและประเทศกำลัง พัฒนำ คนกลุ่มน้อยทางเพศและเพศสภาพจานวนมากมีแนวโน้มที่จะมีรายได้อยู่ในช่วงไม่เกินร้อ ยละ 40 ของสถิติการ กระจายรายได้ หลักฐานบ่งชี้ว่าคนที่มีวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศแบบไม่เป็นไปตามบรรทัดฐานมีการศึกษาต่ากว่าคน ทั่วไปเนื่องจากการถูกรังแก ตีตรา มีอัตราการว่างงานสูงกว่า และอาจขาดการเข้าถึงบริการทางการเงินและบริการทางสุขภาพ อย่ า งพอเ พี ย ง (Badgett 2014; Ojanen 2009; Mahidol University, Plan International Thailand, and UNESCO 2014; UNDP and USAID 2014; Suriyasarn 2014; Ojanen, Ratanashevorn, and Boonkerd 2016) แม้ ว่ า ประเทศ ไทยจะมีความพยายามที่จะสร้างการมีส่วนร่วมให้กับ บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ แต่คนกลุ่มนี้ก็ยังคงประสบปัญหา อุปสรรค ซึ่งมีสภาพแตกต่างกันไปในกลุ่มประชากรย่อยภายในกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศด้วยกัน (UNDP and USAID 2014; Suriyasarn 2014) งานวิจัยประเด็นด้านวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศในประเทศไทยและทั่วโลกส่วนมากเป็นงานเชิงคุณภาพ ดังนั้น เพื่อเติม เต็มช่องว่างนี้ ธนาคารโลกร่วมกับคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ องค์กรเลิฟ แฟรงกี1 ้ และ 2 กองทุนนอร์ดิกทรัสต์ฟันด์ ได้เก็บข้อมูลเชิงปริมาณขึ้นใหม่ การศึกษานี้เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้านเศรษฐกิจและ การเงินในกลุ่มประชากรที่มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทย ข้อมูล มุ่งเน้นไปที่ด้านแรงงาน การประกันภัย ที่อยู่ อาศัย และตลาดการเงิน และการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและสุขภาพ และเพื่อให้สามารถเข้าใจความหมายของตัวเลขที่ ได้มามากขึ้น นักวิจัยได้ใช้มุมมองด้านคุณภาพเข้าร่วมโดยเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์ด้วย งานชิ้นนี้ศึกษามิติต่าง ๆ ดังนี้  ความท้าทายและโอกาสสาหรับคนที่มีความหลากหลายทางเพศ  ประเภทและผลทีต ิ ่อคนที่มีความหลากหลายทางเพศ ่ ามมาของการเลือกปฏิบัตต  มุมมองของการเลือกปฏิบัติและความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย ่ ม่ใช่คน  ทัศนคติและพฤติกรรมของคนที่มีความหลากหลายทางเพศ (บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ) และกลุ่มทีไ ที่มีความหลากหลายทางเพศ 1 องค์กรไม่แสวงหาผลกาไรเพื่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม 2 งบประมาณในการทาวิจัยชิ้นนี้ส่วนใหญ่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนนอร์ดิกทรัสต์ฟันด์ ซึ่งเป็นเวทีด้านความรู้และการเรียนรู้ให้กับ เจ้าหน้าที่ธนาคารโลกเพื่อส่งเสริมงานด้านสิทธิมนุษยชนเป็นฐานเพื่อการพัฒนา หากสนใจข้อมูลเพิ่มเติม อ่านได้ที่ http://www.worldbank.org/en/programs/nordic-trust-fund 25 02 รำยงำนจัดทำขึ้นอย่ำงไร กำรศึกษำครั้งนี้ใช้วิธีกำรเชิงปริมำณและสนับสนุนด้วยข้อมูลเชิงคุณภำพ1 การใช้แบบสารวจออนไลน์2ในการเข้าถึงผู้ตอบ แบบสารวจที่เป็นบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศให้มากที่สุดผ่านการเลือกกลุ่มตัวอย่างที่ไม่เป็นไปตามโอกาสทางสถิติ (nonprobability sampling) การศึกษาเฟ้นหาผู้ตอบแบบสารวจที่เป็นคนที่มีความหลากหลายทางเพศ และเชิญเข้าร่วมเป็นกลุ่มตัวอย่างผ่านการใช้โซเชียล มีเดีย รวมถึงบีเชนจ์ซึ่งเป็นบริษัททางสังคมที่มีการเชื่อมต่อกับกลุ่มชุมชนที่มีความหลากหลายทางเพศหลายกลุ่ม และฮอร์ เน็ท (Hornet) แอพพลิเคชั่นที่ออกแบบมาสาหรับชายรักชาย ไบเซ็กชวล และชายรักเพศเดียวกัน3 ทำไมจึงเลือกใช้แบบสำรวจออนไลน์? ในสถานการณ์ที่มีการตีตราและการกีดกันทางสังคม การใช้สื่อออนไลน์เป็นวิธีการที่ทาให้เข้าถึงประชากรที่เข้าถึงยาก เนื่องจากปัจจัยเหล่านี้ ทั้งยังปลอดภัยกว่าสาหรับผู้เข้าร่วมและนักวิจัย แบบสารวจออนไลน์ยังช่วยลดโอกาสทีผ่ ู้ตอบแบบ สารวจจะตอบคาถามตามความคาดหวังของสังคมหากต้องตอบคาถามต่อหน้าผู้เก็บข้อมูลอีกด้วย 1 ทีมงานได้จัดประชุมปรึกษาหารือเรื่องระเบียบวิธีการทาวิจัยในครั้งนี้ต่อเนื่องกันตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ถึงพฤศจิกายน พ.ศ.2559 โดยมี หน่วยงานที่เกี่ยวข้องประมาณ 50 หน่วยงานทั้งจากองค์กรทวิภาคี องค์กรระหว่างประเทศ หน่วยงานด้านกลุ่มบุคคลที่มีความ หลากหลายทางเพศที่ไม่ใช่ภาครัฐ ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ และกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศเข้าร่วมประชุมด้วย 2 การส ารวจกลุ่ ม บุ ค คลผู้ มี ค วามหลากหลายทางเพศนี้ เ ริ่ ม เปิ ด ตั ว ในงาน International Lesbian, Gay, Bisexual, Trans, and Intersex Association (LIGA) ซึ่งจัดขึ้นที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 และปิดรับแบบสารวจเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 ส่วนการสารวจกลุ่มบุคคลที่ไม่ใช่กลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศนั้นเปิดตัวเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2559 จนถึงวันที่ 15 ธันวาคมปีเดียวกัน แบบสารวจนี้ได้ผ่านการทดสอบและได้แปลและเผยแพร่เป็นภาษาไทย 3 สมาชิกชุมชนกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศของไทยได้ช่วยกระจายลิงค์แบบสอบถามออนไลน์ไปยังบุคคลในกลุ่ม นอกจากนี้ มีการสร้างเฟซบุคเพื่อการสารวจครั้งนี้ และเชื่อมต่อไปยังแฟนเพจ และผู้ดูแลเว็บไซต์เฟซบุคของกลุ่ม ต่าง ๆ ที่ตั้งค่าเป็นกลุ่มส่วนตัว รวมถึงเชื่อมต่อไปยังกลุ่มผู้มีอิทธิพลของชุมชนบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศต่าง ๆ ในประเทศไทย การสารวจนี้ได้สร้างคลิปวีดีโอ รูปภาพ รูป GIF ต่าง ๆ เพื่อใช้ในการสื่อสารไปยังกลุ่มเป้าหมายให้ดีขึ้น ในส่วนของการใช้แอพพลิเคชั่น Hornet นั้นใช้การส่งอีเมล์ไป ยังผู้รับกลุ่มใหญ่ (Blast Email) ไปยังอีเมล์ของสมาชิก แต่ละคน ผู้ได้รับจะสามารถลบอีเมล์นี้ได้ต่อเมื่อเปิดแล้วเท่านั้น ทั้งนี้ ผู้ใช้ แอพพลิเคชั่น Hornet ร้อยละ 90เป็นชายรักชาย ทางเลือกในการส่งแบบสอบถามวิธีนี้จึงช่วยให้ได้รับคาตอบจากกลุ่มชายรักชายครบ ตามจานวนที่ตั้งไว้ อีเมล์นี้ส่งไปเมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ และภายในวันที่ 5 กุมภาพันธ์ก็ได้รับแบบสอบถามจานวน 1,309 จากกลุ่มนี้ 26 องค์ประกอบเชิงคุณภำพของกำรวิจัยเป็นกำรสำรวจประสบกำรณ์กำรถูกเลือกปฏิบัติของผู้ตอบแบบสำรวจที่เป็นบุคคล คนที่มีควำมหลำกหลำยทำงเพศในประเทศไทยเมื่อพวกเขำเข้ำสู่ตลำดหรือรับบริกำรต่ำง ๆ ใช้การเก็บข้อมูลทุติยภูมิ1 และการสัมภาษณ์ “เรื่องราวชีวิต” ที่มีการวางโครงสร้างของคาถามไว้คร่าว ๆ กับผู้เข้าร่วมที่เป็นผู้ตอบแบบสารวจที่เป็นคนที่ มีความหลากหลายทางเพศจานวน 19 คน ที่มีพื้นฐานทาง สังคม เศรษฐกิจ การศึกษา อาชีพ และถิ่นฐานที่แตกต่างกัน2 การ สัมภาษณ์มุ่งเน้นไปที่ประสบการณ์จากวัยเด็กถึงผู้ใหญ่ ด้านการเข้าถึงตลาดและบริการต่าง ๆ เช่น ด้านการเงิน การศึกษา บริการด้านสุขภาพ ที่อยู่อาศัย และตลาดแรงงาน แบบสำรวจออนไลน์มีผู้ตอบเป็นคนที่อำศัยในประเทศไทย 3,502 คน ผู้ตอบ 1,200 คนเป็น กลุ่มที่ไม่ใช่คนที่มีควำม หลำกหลำยทำงเพศ และผู้ตอบ 2,302 คนเป็นกลุ่มคนที่มีควำมหลำกหลำยทำงเพศ โดยนิยำมตนเองอยู่ในกลุ่มวิถีทำง เพศและอัตลักษณ์ทำงเพศที่แตกต่ ำงกันคือ ชำยรักชำย หญิงรักหญิง คนข้ำมเพศ บุคคลที่มีเพศกำกวม และอื่น ๆ ผู้เข้าร่วมทั้งหมดแบ่งออกตามเกณฑ์การเก็บกลุ่มตัวอย่างด้านอายุ (18-25 ปี, 25-34 ปี, 35-44 ปี และ 45 ปีขึ้นไป) ด้าน ภูมิภาค (ห้าภาค คือ กลาง กรุงเทพ เหนือ ใต้ และ ตะวันออกเฉียงเหนือ) เพศสภาพ (ชาย และหญิง) โดยมีโควต้าของแต่ละ กลุ่มอยู่ที่ 30 คน ผู้ตอบแบบสารวจส่วนมากเป็นชายหนุ่มที่อยู่ในเขตเมือง ซึ่งเป็นอคติของกลุ่มตัวอย่างในแบบสารวจออนไลน์นี้ อายุเฉลี่ยของ กลุ่มตัวอย่าง บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ คือ 30 ซึ่งส่วนใหญ่ประกอบด้วยคนในช่วงสองอายุ คือ 18-24 ปี และ 25- 29 ปี ในตอนต้นผู้ตอบแบบสารวจในช่วงอายุน้อยและอาศัยในกรุงเทพฯ มีจานวนมากเกินไป จึงมีการปรับเทียบกลุ่มตัวอย่าง เพื่อให้สามารถเป็นตัวแทนของการกระจายประชากรในประเทศไทยได้ดีขึ้น รายละเอียดดูในภาคผนวก ก. และ ข. ข้อจำกัดของกำรศึกษำ ข้อจากัดหนึ่งของการวิจัยนี้คือการขาดค่าประมาณฐานประชากรหญิงรักหญิง ชายรักชาย และคนข้ามเพศในประเทศไทย ค่าประมาณ กลุ่มย่อยในกลุ่ม บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ อาจต่าเพียงร้อยละ 1 (Sittitrai et al. 1992) หรือสูงถึงร้อยละ 30 (Jackson 1999) เมื่อเทียบกับประชากรทั้งหมด ขึ้นอยู่กับการนิยาม การเก็บตัวอย่างกลุ่ม และวิธีการเก็บข้อมูล นอกจากนี้ยังคงขาดงานวิจัยใน 1 การทบทวนงานวิจัยและงานวิชาการนี้รวมถึงงานวิจัยจากเอกสารที่ตีพิมพ์ เอกสารที่ได้รับการตรวจสอบจากคณะผู้เชี่ยวชาญอื่นๆ ที่ ไม่ใช่ผู้เขียน และการทบทวนงานวิจัยและงานวิชาการเรื่องชายรักชาย เช่น รายงานที่ได้รับการเผยแพร่สู่สาธารณะ หรือคาแถลงการณ์ นโยบายต่าง ๆ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ อย่างไรก็ดี งานวิจัยและงานวิชาการเหล่านี้ไม่ได้รวมงานที่จะได้การสืบค้นอย่างเป็น ระบบจากงานวิจัยและงานวิชาการที่ไม่ได้ตีพิมพ์อีกจานวนมาก อาทิ นอกจากนี้ วิทยานิพนธ์ภาษาไทยที่อภิปรายเรื่องกลุ่มบุคคลที่มี ความหลากหลายทางเพศส่วนใหญ่มีนั้นมีแต่เฉพาะเป็นตัวเล่มเท่านั้นและกระจายอยู่ในห้องสมุดมหาวิทยาลัยต่าง ๆ 2 ถิ่นฐานที่แตกต่างกันในรายงานนี้คือ ภาคกลาง กรุงเทพมหานคร ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ 27 การหาค่าประเมินจานวนประชากร บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ โดยรวมที่เชื่อถือได้ โดยเฉพาะจานวนประชากรกลุ่ม บุคคลที่มี เพศกากวม แม้ว่าการเก็บข้อมูลออนไลน์จะทาให้เข้าถึงประชากรกลุ่มที่ยากจะเข้าถึง แต่เทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต และสมาร์ทโฟนก็ยังคงเป็นปัจจัยที่ ประชากรส่วนมากในโลกเข้าไม่ถึง หาไม่ได้ หรือไม่อาจจับจ่ายมาใช้ (World Bank Group 2016a) รายรับ อายุ สถานที่อยู่อาศัย และ เพศสภาพ ยังคงเป็นปัจจัยแบ่งแยกความสามารถในการเข้าถึงเทคโนโลยีดิจิตอล เช่น ในบางภูมิภาค เฉพาะกลุ่มชายหนุ่มที่มีฐานะใน เขตเมืองเท่านั้นที่สามารถเข้าถึงอินเตอร์เน็ต ในปัจจุบันนี้ มีแนวโน้มของการทาวิจัยออนไลน์ระดับประเทศและภูมิภาคในประเด็นความ หลากหลายทางเพศ ดังนั้น ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามจึงมีอคติทางสถิติ โน้มเอียงไปยังกลุ่มประชากรชายรักชายและไบเซ็กชวลที่มี ฐานะทางสังคมและเศรษฐกิจ โดยเฉพาะคนที่อยู่อาศัยในเขตเมือง ในท้ายที่สุด แม้ทีมวิจัยจะพยายามอย่างยิ่งที่จะให้งานวิจัยสะท้อน ความหลากหลายและภาพตัดขวางอัตลักษณ์ชายขอบที่ ทับซ้อนของประชากรไทย การสารวจเชิงปริมาณก็จะได้ข้อมูลส่วนใหญ่จาก ผู้ตอบแบบสอบถามที่อายุน้อยในเมือง แม้ว่าการสัมภาษณ์เชิงลึกจะสามารถเก็บเรื่องราวที่หลากหลายของกลุ่มคนที่ยากที่จะเข้าถึงได้ แต่ก็ไม่สามารถเข้าถึงประชากรบางกลุ่ม เช่น คนที่มีความหลากหลายทางเพศที่ ทางานนอกระบบ หรือเข้าถึงคนที่เป็น บุคคลที่มีเพศ กากวมและไบเซ็กชวลจานวนมากกว่านี้ได้ หมายเหตุ: ในการสารวจปีพ.ศ. 2533 (Sittitrai et al. 1992) มีชายเพียงร้อยละ 0.2 และหญิงเพียงร้อยละ 0.9 เท่านั้นที่รายงานว่ามี พฤติกรรมทางเพศกับเพศเดียวกันเท่านั้น ในขณะที่ชายร้ อยละ 3.3 และหญิงร้อยละ 1.2 รายงานว่ามีประสบการณ์ทางเพศกับเพศ เดียวกันบ้าง มีการใช้ค่าโดยประมาณของชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายเป็นร้อยละ 3 ในการประเมินพัฒนาการของการแพร่ระบาดเอชไอ วี (A2 and the Thai Working Group on HIV/AIDS Projections 2008) การส ารวจในปี พ .ศ. 2549 (Chamratrithirong et al. 2007, 60) เก็บตัวอย่างจากผู้ตอบแบบสอบถาม 6,048 คน ชายร้อยละ 99 และหญิงร้อยละ 98 ระบุว่าตนเองเป็นคนชอบเพศตรงข้าม ค่าประเมินประสบการณ์การรักเพศเดียวกันที่ระบุโดยเจ้าตัวที่สูงที่สุดได้จากการเกณฑ์ทหารของกองทัพไทย ในปีพ.ศ. 2539 สถิติอยู่ที่ ร้อยละ 9-31 แตกต่างกันไปตามจังหวัด อย่างไรก็ดี ชายเหล่านี้ไม่ได้ระบุว่าตนเองเป็น ชายรักชาย หรือไบเซ็กชวล เพียงแต่รายงานว่า เคยมีประสบการณ์การรักเพศเดียวกันอย่างน้อยหนึ่งครั้ง (Jackson 1999) 28 ประเทศไทย 03 บริบทด้ำนสังคมและกฎหมำย ประเทศไทย: บริบทด้ำนสังคมและกฎหมำย ประเทศไทยอยู่ในฐำนะที่ดีที่จะเป็นหนึ่งในผู้นำระดับโลกที่มีควำมอดทน เปิดใจกว้ำงต่อคนส่วนน้อยทำงเพศและเพศ สภำพ กระนั้น การที่จะนาพาสังคมจากความอดทน เปิดใจกว้างไปสู่การสร้างการมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจและสังคมอย่าง เต็มที่นั้นต้องเพิ่มการปฏิบัติการเชิงนโยบายที่มุ่งเน้นการดาเนินการตามกรอบกฎหมายของประเทศและการสร้างความ ตระหนักแก่สังคม (Badgett et al. 2014; UNDP and USAID 2014; UNESCO 2015, 2016) ผลของการวิจัยชิ้นนี้แสดงให้ เห็นถึงนโยบายอีกจานวนมากที่ควรจะมีขึ้นเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการไม่เลือกปฏิบัติในการเข้าถึงการบริการและตลาด ของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ บริบททำงสังคม ประเทศไทยมีเครือข่ำยองค์กรพัฒนำเอกชนทั้งในระดับประเทศและนำนำชำติและหน่วยงำนนำนำชำติที่ทำงำนใน ประเด็นบุคคลที่มีควำมหลำกหลำยทำงเพศ นอกจากนี้มีภาคธุรกิจที่ผลิตสินค้าและบริการสาหรับชายรักชาย สังคมไทยจึง ได้รับการรายงานว่าเป็นสังคมที่ยอมรับและเปิดใจต่อความหลากหลายทางเพศ (Jackson 1999) กระนั้นก็ดี คนที่มีความ หลากหลายทางเพศปรากฎตัวมากขึ้นในสื่อและบนท้องถนนควบคู่ไปกับการรับรูว ้ ่ากิจกรรมทางเพศและการแสดงออกทางเพศ หลายอย่างเป็นเรื่องต้องห้ามในสังคม การเลือกปฏิบัติพบได้ทั่วไปในภาคเศรษฐกิจสังคม ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับข้อเสียเปรียบ ทางสังคมอื่น ๆ เช่น ชนชั้น ความสามารถ และสถานะความเป็นพลเมือง (Ojanen 2009; Burford and Kindon 2015; Mahidol University, Plan International Thailand, and UNESCO 2014; Suriyasarn 2014; UNDP and USAID 2014) คุณค่ำแบบชำยเป็นใหญ่ยังคงมีอยู่ทั่วไปในชีวิตทำงสังคมของคนไทย ผู้หญิงมีสถำนะทำงสังคมด้อยกว่ำ (UN 2017; Ministry of Public Health 2009; WHO 2005) ทาให้การตีตราหญิงรักหญิง ผู้หญิงไบเซ็กชวล และผู้หญิงข้ามเพศมีมากขึ้น (Ojanen 2009) หลักฐานชี้ว่าผู้ที่มีการแสดงออกทางเพศที่แตกต่างไปจากบรรทัดฐานทางเพศของสังคม (เช่น ชายที่มีการ แสดงออกแบบหญิง หรือหญิงที่เป็นแบบชาย ) มักจะได้รับผลกระทบ เช่น การถูกกีดกันเนื่องจากการเกลียดกลัวการรักเพศ เดียวกันหรือการข้ามเพศ ในบางกรณีก็ถูกกระทาความรุนแรงทางร่างกายโดยตรง (Suriyasarn 2014; Mahidol University, Plan International Thailand, and UNESCO 2014) กลุ่มย่อย ๆ ภำยในประชำกร บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ดูเหมือนจะมีสถำนะที่แตกต่ำงกันไป โดยผู้ที่มีวิถีทำงเพศ และอัตลักษณ์ทำงเพศไม่เป็นไปตำมบรรทัดฐำนของสังคมที่มองเห็นได้ชัดเจนที่สุด เช่น คนข้ำมเพศ และบุคคลที่กำร แสดงออกทำงเพศไม่เป็นไปตำมบรรทัดฐำนดังกล่ำวจะถูกเลือกปฏิบัติมำกที่สุด (Ojanen 2009) 29 ่ วข้อง: การศึกษา การจ้าง ตารางที่ 3.1 แสดงรูปแบบของการเลือกปฏิบัติที่สรุปได้จากการทบทวนวรรณกรรมในภาคส่วนที่เกีย งาน (โดยเฉพาะงานในระบบ) บริการสุขภาพ การประกันภัย บริการของรัฐ และบริการทางการเงิน ตำรำงที่ 3.1 ประเด็นที่ส่งผลต่อบุคคลที่มีควำมหลำกหลำยทำงเพศในประเทศไทยในแต่ละภำคส่วนจำกกำรทบทวน วรรณกรรม ภำคส่วนหรือด้ำน รูปแบบของกำรกีดกันหรือเลือกปฏิบัติ กำรศึกษำ • การเลือกปฏิบัติในการคัดเลือกนักเรียน นักศึกษา และการแนะนาไม่ให้เรียนบางสาขา (โดยเฉพาะกับนักเรียนทีเ่ ป็นบุคคลข้ามเพศ) • ความรุนแรงทางกายภาพ เพศ และวาจา การรังแก และคุกคามนักเรียนที่เป็นหญิงรัก หญิง ชายรักชาย ไบเซ็กชวล บุคคลที่มีเพศกากวม(บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ) • อคติและการตีตราประเด็นที่เกี่ยวข้องกับบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศบุคคลที่มี ความหลากหลายทางเพศในภาคการศึกษา • กฎข้อบังคับที่ไม่มีความยืดหยุ่นในเรื่องเกี่ยวกับห้องน้า เครื่องแบบ และทรงผม • การขาดนโยบายห้ามการรังแก และการปกป้องคุ้มครองนักเรียนที่เป็น บุคคลที่มีความ หลากหลายทางเพศ ไม่เพียงพอ • การขาดความตระหนักถึงปัญหาในบุคลากรของโรงเรียน กำรจ้ำงงำน • การปฏิเสธ สภาพแวดล้อมในการทางานที่ไม่เป็นมิตร การจากัดเสรีภาพด้านการ แสดงออกทางเพศในที่ทางาน การจากัดโอกาสความก้าวหน้าในอาชีพ • การกีดกันที่มีฐานมาจากความแตกต่างที่มองเห็นได้ทางด้านการแสดงออกทางเพศ โดยเฉพาะในชายข้ามเพศ ทอม และหญิงข้ามเพศ • การเลือกปฏิบัติพบได้มากทีส ่ ุดในงานในระบบ โดยเฉพาะในงานราชการ • การคุกคามทางเพศในที่ทางาน • การตีตราคนที่เป็น บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ที่อยู่ร่วมกับเอชไอวี การบังคับให้ ตรวจเลือดในขั้นตอนการสมัครงานหรือในการจ้างงาน สุขภำพและกำรประกัน • การกีดกันการผ่าตัดแปลงเพศในแผนประกันสังคม • การจากัดการเข้าถึงการบาบัดโดยใช้ฮอร์โมนเพศทดแทนและการบาบัดอื่น ๆ ภายใต้การ ประกันสุขภาพ • การเข้าถึงบริการสุขภาพและการประกันชีวิตของเอกชนได้จากัดเนือ ่ งจากเบี้ยประกันที่ สูงและนโยบายที่เคร่งครัด • การตีตราและการใช้ภาพจาเกี่ยวกับผู้หญิงข้ามเพศและชายรักชายว่าเป็น “กลุ่มเสี่ยง” ในการติดเชื้อเอชไอวี • ้ ประกันชีวิตและประกันสุขภาพบุคคลที่เป็น บุคคลที่มีความหลากหลายทาง การคิดเบีย เพศ สูงกว่า • บริษัทประกันส่วนมากไม่มีนโยบายการยกผลประโยชน์การทาประกันชีวิตให้กับคู่ที่เป็น เพศเดียวกัน 30 • ประกันสังคมและประกันภัยจากบริษัทเอกชนไม่ครอบคลุมบริการทางการแพทย์ที่ เกี่ยวกับการยืนยันเพศสภาพ (การแปลงเพศ การใช้ฮอร์โมน) • บริการสุขภาพเรียกหาหลักฐานการยืนยันตัวตนตามเพศกาเนิดของคนข้ามเพศ • บริการเฉพาะทางสาหรับชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย ผู้หญิงข้ามเพศ และผู้ชายข้ามเพศ มีจากัด และไม่มีบริการที่เฉพาะทางสาหรับหญิงรักหญิงและผู้หญิงไบเซ็กชวล • ่ วกับการรักษาความลับ ความเป็นส่วนตัว มีพื้นที่การให้บริการที่ไม่พอเพียง มีปัญหาเกีย และทัศนคติของพนักงาน บริกำรของรัฐ • การไม่มีกฎหมายรับรองสถานะทางเพศของคนข้ามเพศ • การเรียกหาเอกสารระบุตัวตนของคนข้ามเพศเพิ่มเติม นอกเหนือไปจากที่เรียกจากคนที่ ไม่ได้ข้ามเพศ (เช่น ให้นาญาติหรือผู้อาวุโสในหมูบ ่ ้านมายังสานักงานของรัฐเพื่อยืนยัน ตัวตนของคนข้ามเพศ) • การถูกปฏิเสธการเดินทางไปต่างประเทศเนื่องจากเพศในหนังสือเดินทางไม่ตรงกับตัวตน ที่ปรากฎ บริกำรทำงกำรเงิน • การที่คู่เพศเดียวกันไม่สามารถขอกู้ร่วม • คู่เพศเดียวกันหรือบุตรที่ไม่ได้ถูกจดทะเบียนรับอุปการะมีอุปสรรคในการเป็นผูร ้ ับ ผลประโยชน์จากกองทุนสารองเลีย ้ งชีพตาม พ.ร.บ. กองทุนสารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 ที่มา: ด้านการศึกษา Ojanen (2009); UNDP and USAID (2014); Mahidol University, Plan International Thailand, and UNESCO (2014); Suriyasarn (2014), Wongwareethip (2016)-การจ้างงาน Suriyasarn (2014), Ojanen (2009)-สุขภาพและการประกัน Sakunphanit (2008), Ojanen (2010), Suriyasarn (2014)-บริการของรัฐ Preechasilpakul (2013)-บริการทางการเงิน Boonprasert (2011) and Suriyasarn (2014) หมำยเหตุ การทบทวนวรรณกรรมทาโดยคณะวิทยาการเรียนรูแ ้ ละศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรุงเทพ ข้อมูล การเลือกปฏิบัติในบริการทางการเงินนั้นมีขอบเขตที่จากัดและเป็นหลักฐานเรื่องเล่าเป็นหลัก บริบททำงกฎหมำย หลำยทศวรรษที่ผ่ำนมำ กำรมีเพศสัมพันธ์กับเพศเดียวกันไม่ผิดกฎหมำยอำญำในประเทศไทย 1 แม้ว่ำกฎหมำยคุ้มครอง ่ อื้อประโยชน์ให้บุคคลที่มีควำมหลำกหลำยทำงเพศจะมีข้อจำกัด (Preechasilpakul 2013; Ojanen 2009) หรือกฎหมำยทีเ 1 ความเข้าใจในเรื่องเพศของโลกตะวันตกนั้น เรื่องเพศ เพศสภาพ วิถีทางเพศ อัตลักษ์ทางเพศ และการแสดงออกทางเพศนั้นล้วนมีมิติที่ เป็นอิสระ และแตกต่างกันไป ต่างจากประเทศไทยที่เรื่องเพศนั้นดูจะเป็นความเข้าใจแบบยึดติด และผสมสานไปกับบุคลิกลักษณะพิเศษ ต่าง ๆ เช่น ผู้ชายที่ถูกมองว่าเป็นชายรักชายจะถูกเข้าใจว่าเป็นผู้ชายที่แตกต่างจากผู้ชายที่ชอบผู้หญิง เนื่องจากเขามีคุณสมบัติที่ดึงดูด ให้ผู้ชายด้วยกันมาสนใจ อย่างไรก็ดี ความเข้าใจแบบนี้ถูกนาไปใช้แค่กับบทสนทนาทั่วไปในชีวิตประจาวัน เท่านั้น และสาหรับประเทศ ไทยแล้ว มีเพียง 2 เพศ คือ เพศชายและเพศหญิงเท่านั้นที่ได้รับการรับรองทางกฎหมายว่าเป็นเพศที่แตกต่างกัน (Preechasilpakul 2013). 31 ในช่วงหลัง ข้อความที่ระบุถึงการห้ามการเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งเพศในรั ฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ถูกนามาตีความ ให้ครอบคลุมความหลากหลายทางเพศ และมีการผ่านกฎหมายและข้อบังคับหลายฉบับเพื่อให้การปกป้องคุ้มครองในกรณีการ ถูกเลือกปฏิบัติ (ดูกล่องข้อความการห้ามการเลือกปฏิบัติในรัฐธรรมนูญ) รัฐบาลไทยได้พยายามสร้างสังคมที่เปิดต่อการมีส่วน ร่วม ผ่านการทางานของกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ที่มุ่งเน้นการสร้างความเท่าเทียม ไม่แบ่งแยกเพศสภาพ วิถีทางเพศ และการแสดงออกทางเพศ ข้อควำมที่ห้ำมกำรเลือกปฏิบัติในรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย ในปีพ.ศ. 2549 รัฐธรรมนูญมาตรา 30 กล่าวถึงการห้ามการเลือกปฏิบัติโดยทั่วไปว่าไม่สามารถปฏิบัตอ ิ ย่างไม่เท่าเทียมด้วย เหตุทางที่มา เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ สภาพทางกายภาพ หรือสุขภาพ สถานะบุคคล เศรษฐกิจ หรือสถานะทางสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษา หรือมุมมองทางการเมือง แม้ว่าวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศจะไม่ได้ถูกระบุถึงอย่าง ชัดเจน คาว่า “เพศ” ได้ถูกระบุไว้ เอกสารเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญได้อธิบายว่า การเลือกปฏิบต ั ิดว้ ยเหตุแห่งเพศนั้น รวมความถึงวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ อย่างไรก็ตาม หลังจากการรัฐประหารในปีพ.ศ. 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2549 ก็ได้ถูกยกเลิกไป ทาให้การคุ้มครองภายใต้กฎหมายรัฐธรรมนูญสาหรับบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ หายไป รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยในปีพ.ศ. 2560 ห้ามการเลือกปฏิบต ั ิด้วยเหตุแห่งเพศ โดยใช้ข้อความแทบจะ เหมือนกับมาตรา 30 ของรัฐธรรมนูญพ.ศ. 2549 ที่ไม่ระบุถึงวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ ผลลัพธ์ 1 คนที่มีควำมหลำกหลำยทำงเพศเพียงร้อยละ 7 และกลุ่มที่ไม่ใช่คนที่มีควำม หลำกหลำยทำงเพศเพียงร้อยละ 1 ในกำรสำรวจ กล่ำวว่ำพวกเขำทรำบถึงกฎหมำย ของประเทศไทยที่ห้ำมกำรเลือกปฏิบัติต่อคนที่มีควำมหลำกหลำยทำงเพศ ผู้ตอบ แบบสอบถำมที่เป็นคนที่มีควำมหลำกหลำยทำงเพศมำกกว่ำครึ่ง (ร้อยละ 51) และ กลุ่มที่ไม่ใช่คนที่มีควำมหลำกหลำยทำงเพศจำนวนมำกกว่ำสองในสำม (ร้อย 69) กล่ำวว่ำพวกเขำไม่เคยทรำบเลยว่ำมีกฎหมำยลักษณะนี้อยู่ กำรมีพระรำชบัญญัติควำมเท่ำเทียมระหว่ำงเพศ พ.ศ. 2558 เป็นควำมสำเร็จที่สำคัญสำหรับประเทศไทย ทั้งในด้ำน ควำมเท่ำเทียมทำงเพศและกำรรับรู้ควำมสำคัญของประเด็นวิถีทำงเพศและอัตลักษณ์ทำงเพศในกำรพัฒนำประเทศ โดยรวม กฎหมายฉบับนี้ทาให้การเลือกปฏิ บัติต่อบุคคล “เพราะเหตุที่บุคคลนั้นเป็นเพศชายหรือเพศหญิง หรือมีการ แสดงออกที่แตกต่างจากเพศโดยกาเนิด ” (มาตรา 3) เป็นสิ่งที่ผิดกฎหมาย แม้จะไม่ชัดเจนว่าการคุ้มครองนี้จะครอบคลุมถึง วิถีทางเพศด้วยหรือไม่ กฎหมายนี้กาหนดให้มีกองทุนส่งเสริมความเท่าเทียมระหว่างเพศ ภายใต้การดาเนินงานของสานักงาน กิจการสตรีและสถาบันครอบครัว และมีคณะกรรมการในการส่งเสริมความเข้าใจของสังคมเพื่อการขจัดการเลือกปฏิบัติในทุก รูปแบบ 32 ในปัจจุบัน กฎหมำยไทยไม่รับรองสถำนะคู่ชีวิตเพศเดียวกันแม้จะไม่ได้ระบุว่ำเป็นสิ่งผิดกฎหมำย (Sander 2011) ไม่มี กฎหมายที่ ร ะบุ ถึ งอาชญากรรมความเกลี ย ดชั ง และไม่ มี ก ารกล่ า วถึ งวิ ถี ท างเพศและอั ต ลั ก ษณ์ ท างเพศในรั ฐ ธรรมนูญ (OutRight Action International 2012) เพศที่รับรู้กันมีสองเพศ คือ ชายและหญิง (Preechasilpakul 2013) ชายและ หญิงข้ามเพศไม่สามารถสมรสภายใต้กฎหมายสมรสที่อนุญาตคู่ต่างเพศเท่านั้น และไม่สามารถเข้าถึงสิทธิประโยชน์ ตาม กฎหมายสมรสได้ คนข้ามเพศรวมถึงคนที่ผ่านการผ่าตัดยืนยันเพศไม่สามารถเปลี่ยนคานาหน้านามหรือหรือเปลี่ยนการระบุ ถึงเพศของตนในเอกสารราชการได้ (Chokrungvaranont et al. 2014) บุคคลที่มีเพศกากวมหรืออินเตอร์เซ็กส์อาจจะ สามารถเปลี่ยนการระบุเพศในเอกสารราชการเมื่อผ่านการผ่าตัดยืนยันเพศ โดยต้องมีเอกสารจากผู้ให้บริการทางสุขภาพ รับรองว่าการระบุเพศเมื่อแรกเกิดนั้นไม่ถูกต้อง (iLaw 2012) ผลของกำรศึกษำนี้ชี้ว่ำคนรู้จักหรือคุ้นเคยกับกฎหมำยและนโยบำยที่เกี่ยวข้องกั บกำรเลือกปฏิบัติในระดับประเทศน้อย มำก ทั้งในกลุ่มตัวอย่ำงคนที่มีควำมหลำกหลำยทำงเพศและคนที่ไม่ใช่คนที่มีควำมหลำกหลำยทำงเพศ ดังแสดงในรูปที่ 3.1 ผู้ตอบแบบสอบถามที่ไม่ใช่คนที่มีความหลากหลายทางเพศเพียงร้อยละ 1 และคนที่มีความหลากหลายทางเพศเพียงร้อย ละ 7 เท่านั้นที่รู้จักกฎหมายหรือนโยบายของประเทศที่ห้ามการเลือกปฏิบัติและระบุชื่อกฎหมายได้ ในขณะเดียวกัน ผู้ตอบ แบบสอบถามที่ไม่ใช่คนที่มีความหลากหลายทางเพศร้อยละ 70 และคนที่มีความหลากหลายทางเพศมากกว่าครึ่ง (ร้อยละ 51) ไม่รู้จักกฎหมายเหล่านี้เลย อีกจานวนหนึ่งเคยได้ยินแต่ไม่รู้จักหรือจาชื่อกฎหมายไม่ได้ (คนที่ไม่ใช่คนที่มีความหลากหลายทาง เพศร้อยละ 30 และคนที่มีความหลากหลายทางเพศร้อยละ 42) รูปที่ 3.1 ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนมำกไม่รู้จักกฎหมำยที่ห้ำมกำรเลือกปฏิบัติและกำรกีดกัน (เป็นร้อยละ) ที่มา: การวิเคราะห์ข้อมูลสารวจของธนาคารโลก 33 ควำมท้ำทำย 04 ในกำรเข้ำถึงตลำดแรงงำน ประเด็นสำคัญ  การเลือกปฏิบัติในการจ้างงานต่อหญิงรักหญิง ชายรักชาย คนข้ามเพศที่ตอบแบบสารวจเกิดขึ้นในหลายรูปแบบ ที่ พบมากที่สุดคือการปฏิเสธการรับเข้าทางานและการคุกคามในที่ทางาน ผู้ตอบแบบสารวจที่เป็นคนข้ามเพศประสบ กับสภานการณ์นม ี้ ากที่สุด  คาตอบจากแบบสารวจของ บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ชี้วา ่ พวกเขาเข้าไม่ถึงสถาบันทางกฎหมาย ทหาร และศาสนามากทีส ่ ุด  กว่าครึ่งของผู้ตอบแบบสารวจ บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ รายงานถึงปัญหาสุขภาวะทางอารมณ์เนื่องจาก การถูกเลือกปฏิบัติหรือการถูกกีดกันในตลาดแรงงาน รวมถึงการมีสภาวะซึมเศร้า วิตกกังวล และหงุดหงิดตึงเครียด  มากกว่าหนึ่งในสามของผู้ตอบแบบสารวจที่ไม่ใช่บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศเชื่อว่าการที่นายจ้างเลือกปฏิบัติ ต่อบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ นั้นเป็นสิ่งที่ยอมรับได้ในบางสถานการณ์ โดยทั่วไป งานเป็นสิ่งที่ประกันความมั่นคงทางการเงิน นอกเหนือไปกว่านั้นงานเป็นสิ่งที่สามารถทาให้บุคคลรู้สึกว่าชีวิตมี ความหมายหรือประสบความสาเร็จ การเลือกปฏิบัติในตลาดแรงงานหรือในกระบวนการรับสมัครงานสร้างความสั่นคลอนไม่ เฉพาะในแง่รายได้ แต่สามารถส่งผลต่อสุขภาวะทางจิตใจและอารมณ์ของบุคคล นอกจากนี้ การปฏิเสธการจ้างงานบุคคลที่มี ทักษะความสามารถในการทางานเพียงเพราะอคติ ถือได้ว่าเป็นความไร้ประสิทธิภาพในเชิงเศรษฐกิจ กำรจ้ำงงำน กำรสมัครงำน กำรเข้ำถึงงำน และบทบำทกำรเป็นผู้นำ แม้ผลของการศึกษานี้จะไม่สามารถเป็นตัวแทนของประชากรไทยทั้งประเทศได้ เนื่องจากไม่มีข้อมูลสามะโนประชากรของ บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ในประเทศไทย แต่รายงานนี้เ ป็นฐานในการเปรียบเทียบการรับรู้และทัศนคติของคนใน สังคมไทย และเป็นโอกาสในการหาช่องทางประสบความสาเร็จในการสร้างการมีส่วนร่วมในตลาดแรงงาน เนื้อหาในบทนี้เป็น การศึกษาเชิงปริมาณถึงระดับของการเลือกปฏิบัติที่บุคคลประสบ และเก็บบันทึกประสบการณ์การเลือกปฏิบัติในแต่ละภาค ส่วน รวมทั้งสารวจทัศนคติที่มีต่อบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ จากกลุ่มประชากรที่ไม่ใช่บุคคลที่มีความหลากหลายทาง เพศ ตอนท้ายของบทนี้กล่าวถึงผลกระทบต่อสุขภาพจิตอันเกิดจากการเลือกปฏิบัติในตลาดแรงงาน เหตุกำรณ์กำรถูกเลือกปฏิบัติ กำรเป็นคนที่มีควำมหลำกหลำยทำงเพศทำให้มีโอกำสถูกเลือกปฏิบต ั ิในตลำดแรงงำน เพิ่มขึ้น ข้อค้นพบนี้มีนัยสาคัญทางสถิติที่ร้อยละ 1 หลังจากสารวจประสบการณ์ในภาคการศึกษา รายได้ ประเภทงาน 34 ประเภทของนายจ้าง และทางเพศ1 ปัจจัยดังกล่าวนี้นามาหาค่าทางสถิติด้วยการวิเคราะห์เชิงถดถอยหลายตัวแปร ดังอธิบาย ในภาคผนวก ค. ผลลัพธ์ 2: ่ ีความหลากหลายทางเพศ ถูก รำยงำนจำกผู้ที่ตอบแบบสอบถำมชี้ว่ำบุคคลทีม เลือกปฏิบัติรุนแรงที่สุดในตลำดแรงงำน รองลงมำคือตลำดอสังหำริมทรัพย์ เช่น กำรเช่ำหรือซื้อสินทรัพย์ กำรถูกเลือกปฏิบัติในตลำดแรงงำนมีควำมแตกต่ำงกันในประชำกร ที่มี ควำมหลำกหลำยทำงเพศ เนื่องจากขาดข้อมูลสามะโนประชากรคนที่มี ความหลากหลายทางเพศในประเทศไทย จึงยากที่จะระบุว่าความแตกต่าง “ฉันก็สมัครไป แต่เขำบอกว่ำ ‘ตำแหน่ง ดั งกล่ า วเกิ ด จากการมี สั ด ส่ ว นประชากรที่ แ ตกต่ า งกั น ของคนที่ มี ค วาม นี้ให้ผู้หญิงเท่ำนั้น เธอไม่ใช่ผู้หญิง’ เขำก็ หลากหลายทางเพศแต่ละกลุ่มหรือไม่ หรือวิธีเก็บข้อมูลทาให้เกิดได้ข้อมูล เลยจ้ำงฉันไม่ได้ ‘เธอไม่ใช่ผู้หญิง เธอมี จากประชากรที่มีความหลากหลายทางเพศบางกลุ่มมากกว่าหรือไม่ ด้วย คำนำหน้ำนำมเป็นผู้ชำย’” ข้อจากัดเหล่านี้ ข้อมูลที่เก็บได้ชี้ว่าคนข้ามเพศประสบการถูกเลือกปฏิบัติ --บุคคลที่มีเพศกำกวม27 ปี กรุงเทพ ในตลาดแรงงานมากกว่าชายรักชายและหญิงรักหญิง ร้อยละ 60 ของคน ข้ามเพศที่ตอบแบบสารวจรายงานการถูกเลือกปฏิบัติในตลาดแรงงาน ซึ่ง สูงเป็นสองเท่าของหญิงรักหญิง (ร้อยละ 29) และมากกว่าสามเท่าเมือ ่ เทียบ กับกลุ่มชายรักชาย (ร้อยละ18.9) ข้อเท็จจริงที่ว่ำคนข้ำมเพศมีแนวโน้มถูกเลือกปฏิบัติในกำรจ้ำงงำนสูงกว่ำนั้นสอดคล้องกับผลกำรศึกษำอื่น ในปีพ.ศ. 2555 การศึกษาโดยหน่วยงานของสหภาพยุโรปเพื่อสิทธิขั้นพื้นฐาน (European Union Agency for Fundamental Rights -- FRA) ซึ่งมีผู้ตอบแบบสอบสารวจในสหภาพยุโรปและโครเอเชียจานวน 93,079 คน รายงานพบว่า ผู้ตอบแบบสารวจร้อยละ 83 คิดว่าการเลือกปฏิบัติต่อคนข้ามเพศนั้น “พบได้มาก” หรือ “พบได้พอสมควร” (FRA 2013) เมื่อเทียบกับร้อยละ 72 ใน ชายรักชาย และร้อยละ 52 ในหญิงรักหญิง อย่างไรก็ตาม การศึกษาของธนาคารโลกพบว่าการเลือกปฏิบัติพบในผู้ตอบ แบบสอบถามหญิงรักหญิงมากกว่าชายรักชาย งานศึกษาที่วิเคราะห์ข้อมูลการมีส่วนร่วมของปัจเจกบุคคลในด้านแรงงาน พบว่าหญิงรักหญิงประสบปัญหาในการเข้าสู่ตลาดแรงงานมากกว่าชายรักชาย (Aksoy, Carpenter, and Frank 2016). การถูกเลือกปฏิบัติในตลาดแรงงานของคนข้ามเพศอาจมีเหตุมาจากความยากลาบากในการปิดบังอัตลักษณ์ หรือความไม่ ต้องการที่จะปิดบังอัตลักษณ์ ในประชากรกลุ่มย่อย จานวนของผู้ตอบแบบสอบถามที่ระบุว่าพวกเขาปิดบังอัตลักษณ์ของ ตนเองในเวลาที่สมัครงานแปรผันกับอัตราการถูกเลือกปฏิบัติ โดยเฉลี่ยแล้ว บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศร้อยละ 36.8 ระบุว่าพวกเขาปิดบังการเป็นบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในการสมัครงาน กลุ่มที่พบมากที่สุดคือในกลุ่มชายรักชาย (ร้อยละ 41.2) รองลงมาคือ หญิงรักหญิง (ร้อยละ 24.6) และคนข้ามเพศ (ร้อยละ 23.3) ดังแสดงในรูปที่ 4.1 1 หลักฐานในระดับนานาชาติเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งเพศสภาพชี้ว่า “ความเหลื่อมล้าจากการเลือกปฏิบัติ” ส่วนมากใน ตลาดแรงงานนั้น เกิดขึ้นกับเพศหญิงในกลุ่มประชากรที่เป็นคนที่มีความหลากหลายทางเพศ และกลุ่มที่ไม่ได้เป็นคนที่มีความ หลากหลายทางเพศ 35 รูปที่ 4.1 ผู้ตอบแบบสำรวจที่ปิดบังอัตลักษณ์ของตนเมื่อสมัครงำน (เป็นร้อยละ) ที่มา: การวิเคราะห์ข้อมูลสารวจของธนาคารโลก รำยละเอียดในภำคเอกชน ภาคส่วนที่ผู้ตอบแบบสารวจรายงานว่าเข้าถึงได้น้อยที่สุดสามอันดับแรกตรงกัน กับผู้ตอบแบบสารวจที่เป็น บุคคลที่มีความ หลากหลายทางเพศ และที่ไม่ใช่บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ กล่าวคือ ตารวจและการบังคับใช้กฎหมาย การทหาร และสถาบันศาสนา โดยคาตอบมีการเรียงลาดับความสาคัญแตกต่างกัน คนที่ไม่ใช่ บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ เลือก สถาบันที่เข้าถึงได้น้อยที่สุดเรียงลาดับความสาคัญคือ การทหาร ศาสนา และตารวจและการบังคับใช้กฎหมาย ในขณะที่คนที่ เป็น บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ เลือกตารวจและการบังคับใช้กฎหมาย การทหาร และศาสนา ตามลาดับ และเลือก การเกษตร ค้าปลีก และความงามและสุขภาพ เป็นภาคส่วนที่เข้าถึงมากที่สุดจากทั้งหมด 16 ภาคส่วน การเข้าไม่ถึงภาคส่วนต่าง ๆ แตกต่างกันไปในกลุ่มประชากรคนข้ามเพศ ชายรักชาย และหญิงรักหญิง ในภาคส่วนที่มีความ จากัดมาก คนข้ามเพศมีอัตราการเข้าไม่ถึงสูงที่สุด ตามด้วยชายรักชายและหญิงรักหญิง นอกจากนี้ ภาคส่วนที่เข้าถึงยากมาก ที่สุดสามอันดับแรกในกลุ่มชายรักชายและหญิงรักหญิงมีความคล้ายคลึงกันนั้น สัดส่วนของคนข้ามเพศส่วนจานวนมากเลือก ว่าเข้าถึงงานในภาครัฐและงานราชการว่ายากกว่าสถาบันทางศาสนา 36 ่ ญิงรักหญิง ชำยรักชำย และคนข้ำมเพศที่เปิดเผยตัวมองว่ำเป็นงำนที่เข้ำถึงยำก (เป็นร้อยละ) รูปที่ 4.2 ภำคส่วนทีห ที่มา: การวิเคราะห์ข้อมูลจากการสารวจของธนาคารโลก ผู้ตอบแบบสำรวจที่ไม่ใช่ บุคคลที่มีควำมหลำกหลำยทำงเพศ มำกกว่ำหนึ่งในสำมเชื่อว่ำกำรที่นำยจ้ำงเลือกปฏิบัติต่อ บุคคลที่มีควำมหลำกหลำยทำงเพศ นั้นเป็นเรื่องยอมรับได้ในบำงสถำนกำรณ์ (รูปที่ 4.3) รูปแบบของการเลือกปฏิบัติโดย นายจ้างที่ผู้ตอบแบบสอบถามรายงานว่ายอมรับได้มากที่สุดสามรูปแบบคือ การให้ใช้ห้องน้าตามเพศกาเนิด (ร้อยละ 13.3) การให้ลูกจ้างแต่งตัว พูด และปฏิบัติตัวตามเพศกาเนิด (ร้อยละ 10.8) และการปฏิเสธสิทธิประโยชน์ที่มากับงานสาหรับคู่ชีวิต เพศเดียวกัน (ร้อยละ 7.7) การมีทัศนคติในเชิงลบแสดงในรูปของการปฏิเสธการสมัครงานโดยทันทีเนื่องจากผู้สมัครเป็น บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ การคุกคามหรือทาให้เป็นตัวตลกเนื่องจากเป็น บุ คคลที่มีความหลากหลายทางเพศ 37 หลักฐานเหล่านี้ชี้ว่า ประเทศไทยมีความจาเป็นต้องสนับสนุนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทัศนคติและบรรทัดฐานทางสังคมไป พร้อม ๆ กับการเปลี่ยนแปลงด้านกฎหมายและนโยบาย รูปที่ 4.3 ควำมเชื่อของบุคคลที่ไม่ใช่ บุคคลที่มีควำมหลำกหลำยทำงเพศ ว่ำกำรกระทำใดของนำยจ้ำงในสถำนที่ทำงำนเป็นสิ่งที่มี เหตุผล (เป็นร้อยละ) ที่มา: การวิเคราะห์ข้อมูลจากการสารวจของธนาคารโลก ผลลัพธ 5 มำกกว่ำหนึ่งในสำมของผู้ตอบแบบสอบถำมที่ ไม่ใช่ บุคคลที่มีควำมหลำกหลำยทำงเพศ คิดว่ำ กำรเลือกปฏิบัติของนำยจ้ำงต่อ บุคคลที่มีควำม หลำกหลำยทำงเพศ นั้นยอมรับได้ ้ องกำรเลือกปฏิบัติในตลำดแรงงำน ข้อบ่งชีข การปฏิเสธการสมัครงาน การคุกคาม และการกดดันให้ซ่อนวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศเป็นรูปแบบของการเลือกปฏิบัติ ในการจ้างงานที่พบทั่วไปในกลุ่มผู้ตอบแบบสารวจ ร้อยละ 58.6 ของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศที่ตอบแบบสารวจมี ประสบการณ์การถูกเลือกปฏิบัติเมื่อสมัครงานในรูปแบบของการถูกปฏิเสธใบสมัคร ประมาณร้อยละ 40 ถูกคุกคามหรือ ล้อเลียนในที่ทางานเนื่องจากเป็นบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ในขณะที่ร้อยละ 24.5 ถูกบอกไม่ให้แสดงออกหรือบอก ว่าตนเองเป็น บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ (ดูรูปที่ 4.4) นอกจากนี้ ร้อยละ 20.9 รายงานว่าถูกมองข้ามในการได้รับ 38 การเลื่อนตาแหน่ง ร้อยละ 19.1 ถูกปฏิเสธสิทธิประโยชน์ในที่ทางานบางประการเนื่องจากเป็นบุคคลที่มีความหลากหลายทาง เพศ เพียงร้อยละ 5.9 รายงานว่าประสบการณ์การถูกเลือกปฏิบัติในที่ทางานของตนนั้นไม่ได้มีสาเหตุมาจากการที่ตนเองเป็น บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ส่วนอีกร้อยละ 10.6 ไม่มั่นใจ พวกเขำถำมฉันว่ำ ฉันสำมำรถใส่กระโปรงและรองเท้ำคัตชูมำในวัน สัมภำษณ์ได้ไหม ในใจฉันคิดว่ำ ‘ไม่เอำนะ ฉันเรียกตัวเองว่ำผู้ชำยคนนึง แล้วนะ’ ในที่สุดฉันก็ไม่ได้รับเงินเดือนดีๆ จำกที่นั่น --ชำยข้ำมเพศ อำยุ 32 ปี จำกกรุงเทพฯ รูปที่ 4.4 ประสบกำรณ์กำรถูกเลือกปฏิบัติในที่ทำงำนหรือในกำรสมัครงำนของกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถำม (เป็นร้อยละ) ที่มา: การวิเคราะห์ข้อมูลจากการสารวจของธนาคารโลก รูปแบบของกำรถูกเลือกปฏิบัติคล้ำยคลึงกันในประชำกร บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ แต่ละกลุ่มย่อย รูปแบบของ การถูกเลือกปฏิบัติที่เกิดขึ้นมากที่สุดในกลุ่มย่อยทั้งสามกลุ่มคือ การถูกปฏิเสธการสมัครงาน การคุกคามในที่ทางาน และ การกดดันไม่ให้แสดงออกถึงอัตลักษณ์ของตนเอง (รูปที่ 4.5) การถูกปฏิเสธการสมัครงานมีความผันแปรในกลุ่มประชากรย่อย กล่าวคือ ร้อยละ 77 ของคนข้ามเพศรายงานว่าถูกปฏิเสธเปรียบเทียบกับร้อยละ 49.3 และ ร้อยละ 62.5 ในกลุ่มชายรักชาย และหญิงรักหญิงตามลาดับ มีความผันแปรเพียงเล็กน้อยในเรื่องการคุกคามในที่ทางานคือ ร้อยละ 40.8 ในกลุ่มคนข้ามเพศ 39 ร้อยละ 41.3 ชายรักชาย และ ร้อยละ 38.6 ในกลุ่มหญิงรักหญิง คนข้ามเพศรายงานถึงการถูกเลือกปฏิบัติถึง 7 ใน 9 รูปแบบ ซึ่งสูงกว่าชายรักชายและหญิงรักหญิง คือ การเลือกปฏิบัติที่เด่นชัดรูปแบบหนึ่งคือการใช้ห้องน้า คิดเป็นร้อยละ 23.7 ในคน ข้ามเพศ เปรียบเทียบกับร้อยละ 4.5 ในชายรักชาย และร้อยละ 10.2 ในหญิงรักหญิง รูปที่ 4.5 รูปแบบกำรเลือกปฏิบัติในที่ทำงำนหรือเมื่อสมัครงำน จำแนกตำมกลุ่มประชำกรย่อย (เป็นร้อยละ) ที่มา: การวิเคราะห์ข้อมูลจากการสารวจของธนาคารโลก ผลกระทบของกำรเลือกปฏิบัติ กำรเลือกปฏิบัติสำมำรถสร้ำงผลกระทบได้หลำกหลำย ตั้งแต่กำรถูกปฏิเสธไม่ให้ทำงำน ไปจนถึงปัญหำสุขภำพจิต เช่น ภำวะซึมเศร้ำ ผู้ตอบแบบสารวจที่มีความหลากหลายทางเพศที่มีประสบการณ์การถูกเลือกปฏิบัติรายงานว่ามีปัญหาทางด้าน อารมณ์ตามมา (รูปที่ 4.6) การเลือกปฎิบัติยังนาไปสู่การถูกปฏิเสธงาน (ร้อยละ 45.1) และการไม่สามารถใช้ความสามารถใน ที่ทางาน (ร้อยละ 42.5) เพียงร้อยละ 5.8 เท่านั้นที่ระบุว่าไม่มีผลกระทบ 40 รูปที่ 4.6 ผลกระทบของกำรถูกเลือกปฏิบัติในที่ทำงำนหรือเมื่อสมัครงำน จำแนกตำมกลุ่มประชำกรย่อย (เป็นร้อยละ) ที่มา: การวิเคราะห์ข้อมูลจากการสารวจของธนาคารโลก ผลระทบของกำรถูกเลือกปฏิบัติแตกต่ำงกันไปตำมกลุ่มประชำกรย่อย ผลกระทบหลักในทุกกลุ่มประชากรคือการมีปัญหา ทางอารมณ์และการไม่ได้งาน (ดูรูปที่ 4.6) คนข้ามเพศรายงานถึงผลกระทบทั้งสองนี้มากกว่าชายรักชายและหญิงรักหญิง คน ข้ามเพศเกือบสองในสามประสบปัญหาทางอารมณ์เนื่องจากการถูกเลือกปฏิบัติ ตามมาด้วยหญิงรักหญิงเป็นร้อยละ 53.4 และ ชายรักชายร้อยละ 44.8 ผลกระทบที่เกิดขึ้นมากที่สุดเป็นอันดับสามสาหรับคนข้ามเพศและชายรักชายคือการไม่สามารถ แสดงศักยภาพได้เต็มที่ในที่ทางาน ส่วนผู้ตอบแบบสารวจที่เป็นหญิงรักหญิงรายงานการถูกบังคับให้แต่งกายตามขนบของเพศ กาเนิด กำรเลือกปฏิบัติในตลำดแรงงำนสร้ำงอุปสรรคให้กับกำรมีส่วนร่วมทำงเศรษฐกิจอย่ำงเต็มที่ของคนที่มีควำมหลำกหลำย ทำงเพศที่ตอบแบบสอบถำม พวกเขารายงานผลกระทบทางเศรษฐกิจ เช่น การถูกลดค่าจ้าง การต้องทางานหนักขึ้น นอกเหนือจากความเครียดทางจิตใจและอารมณ์ ผลของการศึกษานี้สอดคล้องกับผลในงานวิจัยเกีย ิ ้วย ่ วกับการเลือกปฏิบัตด 41 เหตุแห่งเพศอื่น ๆ ซึ่งชี้ให้เห็นว่ามีความสาคัญที่รัฐบาลจะมีนโยบายและโครงการส่งเสริมการสร้างโอกาสที่เท่าเทียม นอกจากนี้ ยังมีความสาคัญที่จะต้องสร้างความร่วมมือกับภาคเอกชนและกลุม ่ บริษัทต่าง ๆ1 1 เอ้าท์บีเคเค (OUTBKK) เป็นชุมชนของคนที่มีความหลากลายทางเพศที่ไม่แสวงผลกาไร ก่อตั้งขึ้นเพื่อทางานกับปัญหาหลายแง่มุมที่ ชุมชนของคนที่มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทยประสบ (https://www.outbkk.org) เวิร์คเพลสไพรด์ (Workplace Pride) เป็นองค์กรไม่แสวงผลกาไรที่ตั้งขึ้นเพื่อพัฒนาชีวิตของคนที่มีความหลากหลายทางเพศทั่วโลก (http://workplacepride.org) 42 กำรเข้ำถึงตลำด 05 และบริกำร ประเด็นสำคัญ  ผู้ตอบแบบสอบถามบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศรายงานถึงอุปสรรคหลักคือ การเข้าถึงบริการต่าง ๆ ของรัฐ เช่น การทาบัตรประจาตัวประชาชน หนังสือเดินทาง และเอกสารส่วนบุคคลอื่น ๆ โดยมี ชายรักชายร้อยละ 41 หญิงรักหญิง ร้อยละ 36 และคนข้ามเพศร้อยละ 47 รายงานว่าไม่สามารถรับบริการของรัฐดังกล่าวได้เมื่อไปรับ บริการ  ผู้ต อบแบบสอบถามคนข้ามเพศถูกเลือ กปฏิ บัติ และถูกกีด กันมากกว่า ชายรั กชายและหญิ งรั กหญิ ง ในหลายมิ ติ โดยเฉพาะในการศึกษาและการฝึกอาชีพ และการเข้าถึงบริการสุขภาพและการประกัน  ผลการสารวจจากหญิงรักหญิงในด้านต่าง ๆ ต่ากว่าชายรักชาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการซื้อสินทรัพย์และการเป็น เจ้าของทรัพย์สินทางการเงิน  ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีความหลากหลายทางเพศจานวนมากรายงานถึงการถูกเลือกปฏิบัติในตลาดอสังหาริมทรัพย์ และการเงิน  ผู้ที่รายงานว่าถูกเลือกปฏิบัติในการเข้าถึงประกันชีวิตและสุขภาพ รวมถึงการศึกษา มีรายได้น้อยกว่า บทที่ 5 นาเสนอข้อค้นพบจากแบบสารวจออนไลน์ในประเด็นบริการสุขภาพ การประกัน สถาบันการศึกษา การฝึกอาชีพ การเงิน อสังหาริมทรัพย์ และบริการของรัฐ รำยงำนส ำคั ญ ชิ้นหนึ่ งของธนำคำรโลก การมี ส่ วนร่ วมนั้นสาคั ญ : ฐานรากของการแบ่ งปันความมั่งคั่ ง ( Inclusion Matters: The Foundation for Shared Prosperity) ระบุว่ำ หนทำงที่ยั่งยืน เพื่อไปสู่กำรยุติควำมยำกจนและกำร ส่งเสริมกำรแบ่งปันควำมมั่งคั่งนั้นคือ กำรสร้ำงสังคมที่มีส่วนร่วม ไม่เฉพำะในด้ำนสวัสดิกำรทำงเศรษฐกิจ แต่รวมถึงกำร ที่คนทุกกลุ่มมีเสียงและได้รับกำรสร้ำงพลัง (World Bank 2013) ความสามารถที่จะใช้บริการต่าง ๆ มีความสาคัญอย่างยิ่ง สาหรับคนกลุ่มน้อยในการที่จะเข้ามามีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ในสังคม มีศักดิ์ศรี และแสดงศักยภาพได้อย่างเต็มที่ ความสามารถ ที่จะใช้บริการต่าง ๆ ได้โดยไม่มีอุปสรรค เช่น บริการด้านสุขภาพและการศึกษา มีความสาคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาวะอันดีของคน กลุ่มเปราะบาง การศึกษาในระดับนานาชาติรายงานว่า นักเรียนที่เป็นชนกลุ่มน้อยทางเพศถูกตีตราในระดับทสูงในโรงเรียนอัน เนื่องมากจากวิถีทางเพศและการแสดงออกทางเพศของพวกเขา และทาให้พวกเขามีสุขภาพและมีผลการศึกษาที่ไม่ดี (Kosciw 2012) 43 บริกำรต่ำงๆ ของภำครัฐ กำรเข้ำถึงเอกสำรและบริกำรประชำชน กำรเข้ำถึงบริกำรภำครัฐ ่ เข้า ภายใต้ขอบเขตของข้อมูลที่รวบรวมได้ในการศึกษา ส่วนนี้กล่าวถึงข้อท้าทายที่บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศเผชิญเมือ รับบริการของรัฐ (การทาบัตรประจาตัวประชาชน หนังสือเดินทาง และเอกสารประจาตัวอื่น ๆ ) บริการทางสุขภาพ (การซื้อ และการเอาประกัน และการเข้าถึงบริการสุขภาพและการรักษา) สถาบันการศึกษาหรือโอกาสการฝึกอาชีพ (การสมัครเข้าร่วม หลักสูตรหรือโครงการ การศึกษาในสถาบันการศึกษา หรือการได้รับการฝึกอบรมเชิงวิชาชีพ) การเงิน (การใช้และการเข้าถึง บริการและผลิตภัณฑ์ธนาคาร) และอสังหาริมทรัพย์ (การเช่าหรือซื้อทั้งในฐานะบุคคลและร่วมกับคู่)1 ผู้ตอบแบบสำรวจที่มีควำมหลำกหลำยทำงเพศมำกกว่ำครึ่งรำยงำนว่ำถูกปฏิบัติแบบไม่ได้รับควำมเคำรพหรือให้เกียรติ เมื่อเข้ำรับบริกำรของรัฐ (ร้อยละ 54.4) และร้อยละ 44.4 ระบุว่ำถูกถำมคำถำมที่ไม่เกี่ยวข้อง กับความหลากหลายทาง เพศ มากกว่าร้อยละ 30 ในกลุ่มผู้ตอบแบบสารวจถูกขอให้แต่งตัว พูด หรือปฏิบัติตัวให้ตรงตามเพศกาเนิดหรือพิสูจน์ตัวตน ด้วยวิธีการที่ยากลาบาก ถูกคุกคามหรือล้อเลียน หรือต้องเผชิญกับข้อแม้หรือข้อเรียกร้องเพิ่มเติมจากคนทั่วไปในการรับ บริการจากรัฐ (รูปที่ 5.1) การถูกปฏิบัติอย่างไม่เคารพในบริบทของการสารวจนี้ ผู้ตอบแบบสารวจเข้าใจว่าคือการ “ดูถูก” ถูกตั้งข้อเรียกร้องเพิ่มเติมจากทั่วไป หรือเป็นเป้าของการปฏิบัติที่หยาบคาย “เรำระวังตัวมำกมำโดยตลอดในที่สำธำรณะ ทำ ตัวดี ๆ ไม่ทำอะไรที่ทำให้คนอื่นอึดอัด ไม่ทำ อะไรที่อำจจะทำให้เขำรังเกียจเรำ” --หญิงรักหญิง อำยุ 57 ปี กรุงเทพ หญิงรักหญิง 57 ปี กรุงเทพ 1 นอกเหนือจากการเลือกปฏิบัติและกีดกันในพื้นที่เหล่านี้ ผู้เข้าร่วมหลายคนรายงานว่าถูกเลือกปฏิบัติและถูกกระทาความรุนแรงจาก สมาชิกครอบครัวหรือคนรัก และจากสถาบันทางศาสนา โรงพยาบาล และในพื้นที่สาธารณะ 44 รูปที่ 5.1 เหตุกำรณ์กำรเลือกปฏิบัติเมื่อเข้ำรับบริกำรจำกรัฐ (เป็นร้อยละ) ที่มา: การวิเคราะห์ข้อมูลจากการสารวจของธนาคารโลก คนข้ำมเพศประสบอุปสรรคเป็นพิเศษในกำรเข้ำถึงบริกำรสำธำรณะ ตัวอย่างเช่น กฎหมายไม่รับรองการเปลี่ยนเพศของคน ข้ามเพศ ทาให้พวกเขาประสบความยากลาบากในการพิสูจน์ตัวตนเมื่อต้องใช้บริการตามสิทธิที่พวกเขาพึงมี ปัญหาที่พบได้ ทั่วไปอีกประการหนึ่งคือการถูกปฏิเสธการเดินทางเข้าประเทศอื่น เนื่องจากเพศในหนังสือเดินทางไม่ตรงกับรูป ลักษณ์ ภายนอก กระนั้นก็ไม่สามารถทาหนังสือเดินทางใหม่ได้ (Preechasilpakul 2013) ครึ่งหนึ่งของผู้ตอบแบบสำรวจที่มีควำมหลำกหลำยทำงเพศรำยงำนว่ำถูกปฏิบัติอย่ำงไม่ให้ควำมเคำรพเมื่อไปรับบริกำร จำกหน่วยงำนรัฐ และมำกกว่ำร้อยละ 30 กล่ำวว่ำถูกคุกคำมหรือล้อเลียน และต้องปฏิบัติตำมข้อเรียกร้องเพิ่มเติมจำก 45 ทั่วไปในกำรใช้บริกำร ผู้ตอบแบบสารวจชายรักชายร้อยละ 33 หญิงรักหญิง ร้อยละ 33 และคนข้ามเพศร้อยละ 45 ไม่ สามารถใช้บริการจากหน่วยงานรัฐได้ (ดูรูปที่ 5.2) ผู้ตอบแบบสารวจที่มีความหลากหลายทางเพศจานวนมากต้องประสบ เผชิญสภาวะที่ยากลาบากทางการเงิน อารมณ์ ชีวิตส่วนตัว หรือ ทางกฎหมาย เนื่องมาจากการถูกเลือกปฏิบัติจากบริการของ รัฐ ผลลัพธ์ 3 ชำยรักชำยร้อยละ 41 หญิงรักหญิงร้อย ละ 36 และคนข้ำมเพศร้อยละ 47 ที่ร่วม ตอบแบบสำรวจ รำยงำนว่ำไม่สำมำรถ รับบริกำรที่ต้องกำรจำกรัฐบำล รูปที่ 5.2 ผลที่เกิดจำกกำรถูกเลือกปฏิบัติเมื่อไปรับบริกำรจำกรัฐ แยกตำมประชำกรกลุ่มย่อย (เป็นร้อยละ) ที่มา: การวิเคราะห์ข้อมูลจากการสารวจของธนาคารโลก 46 เกือบครึ่งหนึ่งของผู้ตอบ แบบสารวจที่มีความหลากหลายทางเพศเชื่อว่าการที่บริกำรของรัฐเลือกปฏิบัติต่อคนที่มีควำม หลำกหลำยทำงเพศในบำงรูปแบบนั้นเป็นสิ่งที่ยอมรับได้ เกือบร้อยละ 5 กล่าวว่ายอมรับได้ที่หน่วยบริการเหล่านั้นปฏิเสธ ิ รรม ไม่ให้บริการกับคนที่เป็นบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ (รูปที่ 5.3) อย่างไรก็ตาม ร้อยละ 52 ไม่เชื่อว่าเป็นการไม่ยุตธ ี ารเลือกปฏิบัติต่อคนที่เป็นบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ที่มก รูปที่ 5.3 กำรเลือกปฏิบัติในบริกำรของรัฐที่ยอมรับได้ (เป็นร้อยละ) ที่มา: การวิเคราะห์ข้อมูลจากการสารวจของธนาคารโลก ผู้ตอบแบบสารวจมองว่าการเลือกปฏิบัติต่อบุคคลที่เป็น บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในการรับสมัครเข้าหลักสูตรหรือ โครงการอบรม (ร้อยละ 45.3) และการซื้อสินทรัพย์ (ร้อยละ 43.9) เป็นสิ่งที่ยอมรับได้ ประมาณ 1 ใน 3 ของผู้ตอบแบบ ี วามหลากหลายทางเพศเห็นด้วยว่าการเลือกปฏิบัตด สารวจที่ไม่ได้เป็นกลุ่มบุคคลที่มค ิ ้วยเหตุแห่งวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทาง เพศเมื่อพวกเขาต้องการใช้บริการการประกัน (ร้อยละ 33.8) หรือบริการทางการเงิน (ร้อยละ 32.7) จากภาคเอกชนนั้นมี เหตุผล ประกันสุขภำพ กำรเข้ำถึงบริกำรทำงสุขภำพและกำรดูแลด้ำนสุขภำพ กำรเข้ำถึงบริกำรสุขภำพและกำรประกัน ผลกำรศึกษำชี้ว่ำผู้ตอบแบบสำรวจที่ถูกเลือกปฏิบัติในกำรเข้ำถึงกำรศึกษำและกำรฝึกอบรม เช่นเดียวกับในกำรเข้ำถึง บริกำรประกันสุขภำพและประกันชีวิตมีรำยได้ต่ำกว่ำผู้ตอบแบบสอบถำม ที่มีความหลากหลายทางเพศ ที่ไม่ถูกเลือกปฏิบต ัิ การวิเคราะห์แสดงให้เห็นว่าการเป็น บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศไม่ได้ส่งผลกระทบต่อระดับของรายได้ ด้วยตัวของมัน 47 เอง หลังจากควบคุมลักษณะอื่น ๆ 1 กระนั้น ผู้ตอบแบบสารวจ บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ที่ถูกเลือกปฏิบัติ มักมี รายได้อยู่ในเกณฑ์ที่ไม่สูง กำรเลือกปฏิบัติในกำรประกันสุขภำพและชีวิตทำให้ควำมน่ำจะเป็นในกำรมีรำยได้ ต่อปี 60,000 บำทหรือสูงกว่ำลดลง ร้อยละ 4.62 บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ที่ถูกเลือกปฏิบัติในภาคสุขภาพมีความเป็นไปได้ที่จะมีรายได้ต่ากว่า บุคคลที่ มีความหลากหลายทางเพศ ที่ไม่ถูกเลือกปฏิบัติ การวิเคราะห์เชิงคุณภาพแสดงว่าการประกันสุขภาพเป็นแหล่งแห่งการเลือก ปฏิบัติที่ทาให้ บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ รู้สึกเปราะบางเป็นอย่างยิ่ง การเลือกปฏิบัติในการเข้าถึงการประกันสุขภาพและประกันชีวิตเกิดขึ้นบ่อยครั้งในชุมชนคนข้ามเพศ ผลของการสารวจแสดง ว่าคนข้ามเพศที่ตอบแบบสารวจร้อยละ 15.2 ถูกเลือกปฏิบัติเมื่อใช้บริการประกันสุขภาพหรือชีวิต ตามด้วยหญิงรักหญิงร้อย ละ 11.4 และชายรั ก ชายร้ อ ยละ 8.6 รู ป ที่ 5.4 แสดงถึ งเหตุ ก ารณ์ก ารเลื อ กปฏิบั ติที่ พ บได้บ่ อ ย โดยมี บุ ค คลที่ มี ค วาม หลากหลายทางเพศ ที่ตอบแบบสารวจร้อยละ 36.5 รายงานว่าถูกมองด้วยภาพจาที่สังคมมองบุคคลที่มีความหลากหลายทาง เพศ (stereotype) และคนจานวนเท่ากันรายงานว่าไม่สามารถทาประกันชีวิตหรือ ประกันสุขภาพให้คู่ได้ บุคคลที่มีความ หลากหลายทางเพศ ร้อยละ 23.8 มีประสบการณ์ถูกขอให้ออกไปจากสถานที่เพราะวิถีทางเพศหรืออัตลักษณ์ทางเพศของพวก เขา รูปที่ 5.4 เหตุกำรณ์กำรถูกเลือกปฏิบัติในกำรเข้ำถึงบริกำรสุขภำพและกำรประกัน (เป็นร้อยละ) ที่มา: การวิเคราะห์ข้อมูลจากการสารวจของธนาคารโลก 1 ลักษณะอื่นอย่างเช่น การศึกษา ประเภทของงาน ประเภทขององค์กร ภูมิภาค (กรุงเทพนับเป็นภูมิภาคที่แยกออกมา) ผลกระทบอัน เนื่องมากจากลักษณะเฉพาะที่ตายตัวในระดับภูมิภาค การเป็นเมือง กลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ (interaction terms) อายุ และการถูกเลือกปฏิบัติ 2 การประเมินนี้ควบคุมอายุ ระดับการศึกษา พื้นที่อยู่อาศัย (กรุงเทพ) และปัจจัยอื่น ๆ 48 ผู้ตอบแบบสำรวจจำนวนร้อยละ 37 รำยงำนว่ำพวกเขำไม่ได้รับบริกำรด้ำนสุขภำพและกำรประกันที่ต้องกำรเนื่องจำก เป็นบุคคลที่มีควำมหลำกหลำยทำงเพศ ตัวอย่ำงเช่น ผู้ตอบแบบสอบถำมร้อยละ 23 ไม่ได้รับกำรดูแลรักษำที่เฉพำะทำง ผลกระทบที่ตามมาของการถูกเลือกปฏิบัติแสดงในรูปที่ 5.5 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าผู้ตอบแบบสารวจจานวนน้อยมากรู้สึกว่าตน ไม่ได้รับผลกระทบจากการถูกเลือกปฏิบัติ รูปที่ 5.5 ผลกระทบของกำรถูกเลือกปฏิบัติในกำรเข้ำถึงบริกำรสุขภำพและกำรประกัน (เป็นร้อยละ) ที่มา: การวิเคราะห์ข้อมูลจากการสารวจของธนาคารโลก 49 กำรศึกษำ กำรสมัครหรือกำรศึกษำในสถำบันกำรศึกษำและสถำบันฝึกอบรมวิชำชีพ กำรเข้ำถึงสถำบันกำรศึกษำและกำรฝึกอำชีพ ผู้ตอบแบบสอบถำมที่มีควำมหลำกหลำยทำงเพศที่ถูกเลือกปฏิบัติในด้ำนกำรศึกษำมีแนวโน้มที่จะมีรำยรับน้อยกว่ำคนที่ ไม่ถูกเลือกปฏิบัติ ผลจำกกำรแบบสำรวจชี้ว่ำกำรถูกเลือกปฏิบัติสอดคล้องกับกำรมีควำมน่ำจะเป็นลดลงในกำรมีรำยได้ 60,000 บำทหรือมำกกว่ำต่อปี นอกจากนี้ยังพบว่าคนที่มีประสบการณ์การถูกรังแก (รวมถึงการคุกคามทางกาย วาจา ใจ ซึ่ง ปรากฎในข้อมูลเชิงคุณภาพในการศึกษา) อาจเลือกใช้วิธีการรับมือดังเช่นการแยกตัวจากสังคม การปิดบังวิถีทางเพศและอัต ลักษณ์ทางเพศ การขาดเรียน รวมถึงการออกจากโรงเรียน อันที่จริงแล้ว ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีความหลากหลายทางเพศ ที่ มีประสบการณ์การถูกเลือกปฏิบัติมีความน่าจะเป็นต่ากว่ากลุ่มอื่น ๆ ที่จะเรียนจบการศึกษาระดับปริญญาตรีอีกด้วย กำรสำเร็จกำรศึกษำในระดับปริญญำตรี มีควำมเชื่อมโยงกับกำรมีรำยได้สูงขึ้นในอนำคต ในขณะที่ผู้ตอบแบบสำรวจที่มี ความหลากหลายทางเพศ ที่มีประสบกำรณ์กำรถูกเลือกปฏิบัติมีควำมน่ำจะเป็นต่ำกว่ำบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ที่ ไม่มีประสบกำรณ์กำรถูกเลือกปฏิบัติ ที่จะสำเร็จกำรศึกษำในระดับมูลฐำน ข้อค้นพบนี้ตรงกับหลักฐานที่ได้จากงานวิจัยอื่น ในระดับนานาชาติ กล่าวคือ การเลือกปฏิบัติจากเหตุแห่งวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศและด้วยเหตุอื่น ๆ (เช่น เชื้อชาติ ศาสนา หรือเพศสภาพ) ในการเข้าถึงการศึกษาและบริการอื่น ๆ มีความสัมพันธ์กับการมีโอกาสทางเศรษฐกิจลดลง (IGLHRC 2014; Dis-Aguen undated; GALANG Philippines 2015;World Bank 2013; Ferreira and Peragine 2015) คนข้ำมเพศมีประสบกำรณ์กำรถูกเลือกปฏิบัติบ่อยครั้งในกำรเข้ำถึงกำรศึกษำหรือกำรฝึกอบรม (ร้อยละ 23.3) ตำมด้วย หญิงรักหญิง (ร้อยละ 11) และชำยรักชำย (ร้อยละ 6) การขยายตัวของการจ้างงานในประเทศไทยทาให้เกิดการจ้าง แรงงานที่สาเร็จการศึกษาในระดับที่สูงขึ้นอย่างมาก (World Bank Group 2016) ชี้ให้เห็นว่าการสร้างการมีส่วนร่วมในภาค การศึกษาตั้งแต่วัยเด็กถึงวัยผู้ใหญ่เป็นสิ่งที่มีความสาคัญมากขึ้น ในขณะเดียวกัน การศึกษาที่ขาดตอนหรือไม่สมบูรณ์ เชื่อมโยงกับการมีโอกาสทางเศรษฐกิจและสังคมลดลง เช่นเดียวกับความเจ็บป่วยทางกายภาพหรือจิต ใจและความเสี่ยงต่อสุข ภาวะโดยรวม และก่อให้เกิดผลกระทบในระยะยาวต่อสภาพการเงิน การจ้างงาน อาชีพ และแง่มุมอื่น ๆ ในทางเศรษฐกิจ ผลกระทบที่บุคคลที่มีควำมหลำกหลำยทำงเพศผู้ตอบแบบสอบถำมประสบมำกที่สุดเมื่อถูกเลือกปฏิบัติคือปัญหำทำง อำรมณ์ (ผลรวมของประชำกรกลุ่มย่อยเป็นร้อยละ 53.2) ผู้ตอบแบบสอบถามเกือบครึ่งหนึ่งถูกขอให้ “แต่งตัว พูดจา หรือ ปฏิบัติตัว” ให้ตรงกับเพศกาเนิด ผู้ตอบแบบสอบถามเกือบหนึ่งในสี่กล่าวว่าการเลือกปฏิบัติเป็นเหตุผลที่ทาให้ไม่ถูกรับเข้า ศึกษาในสถาบันที่สมัครไป และมากกว่าหนึ่งในห้ารายงานว่าต้องศึกษาในสาขาที่ไม่ต้องการ รูปที่ 5.6 แสดงให้เห็นว่าหญิงรัก หญิงและคนข้ามเพศต้องทุกข์ทนกับผลกระทบแง่ลบจากการถูกเลือกปฏิบัติเมื่อเข้าสู่สถาบันการศึกษาหรือการฝึกอาชีพ 50 รูปที่ 5.6 ผลกระทบของกำรถูกเลือกปฏิบัติเมื่อเข้ำสู่สถำบันกำรศึกษำหรือกำรฝึกอำชีพ แยกตำมกลุ่มประชำกรย่อย (เป็น ร้อยละ) ที่มา: การวิเคราะห์ข้อมูลจากการสารวจของธนาคารโลก 51 กำรเงิน กำรเข้ำถึงผลิตภัณฑ์และบริกำรของธนำคำร กำรเข้ำถึงกำรเงิน ในขณะที่ผู้ตอบแบบสอบถำมที่มีควำมหลำกหลำยทำงเพศส่วนมำกไม่รำยงำนถึงอุปสรรคในกำรเข้ำถึงบริกำรพื้นฐำนทำง กำรเงิน เช่น กำรเปิดบัญชีธนำคำรและกำรสมัครบัตรเดบิต คนข้ำมเพศมีอุปสรรคในกิจกรรมเหล่ำนี้เนื่องจำกต้องใช้บัตร ประจำตัวประชำชน ในแบบสอบถาม ผู้ชายและผู้หญิงข้ามเพศรายงานว่าพวกเขาถูกตั้งคาถามจากธนาคารมากกว่าลูกค้าที่ ไม่ใช่คนข้ามเพศ ชายข้ามเพศร้อยละ 18.7 รายงานว่าถูกเลือกปฏิบัติในการเข้าถึงผลิตภัณฑ์ทางการเงิน รูปลักษณ์ภำยนอกและเพศสภำพของบุคคลที่ไม่เป็นไปตำมเพศกำเนิดทำให้เกิดกำรเลือกปฏิบัติในกำรเข้ำถึงบริกำรทำง กำรเงิน คนที่ไม่ใช่บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศร้อยละ 12-19 รู้สึกว่าการถามหาข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อพิสูจน์ตัวตนของ บุคคล หรือการขอให้บุคคลแต่งตัวหรือทาตัวตรงกับเพศกาเนิดเป็นสิ่งที่เป็นเหตุเป็นผล รูปที่ 5.7 แสดงถึงความถี่ในการที่ ลูกค้าหญิงรักหญิง ชายรักชาย และคนข้ามเพศถูกตั้งคาถามเพื่อพิสูจน์ตัวตน หรือถูกขอให้แต่งกายอี กแบบหนึ่งเมื่อพวกเขา เข้าถึงบริการทางการเงิน “ปัญหำหลักก็คือคำนำหน้ำนำม เวลำที่ต้องไปธนำคำร เขำก็จะมี ปัญหำกับบัตรประชำชนของเรำ เพรำะมันบอกว่ำ ‘นำย’ รูปก็เป็นรูป เก่ำ เขำก็รู้สึกว่ำมันไม่น่ำไว้ใจ ก็ต้องสอบสวนเพิ่ม” --หญิงข้ำมเพศ 20 ปี ภำคกลำง รูปที่ 5.7 เปรียบเทียบกำรเลือกปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับอัตลักษณ์ ในกำรเข้ำถึงบริกำรทำงกำรเงิน กำรศึกษำ และบริกำร ของรัฐ แยกตำมประชำกรกลุ่มย่อย (เป็นร้อยละ) ที่มา: การวิเคราะห์ข้อมูลจากการสารวจของธนาคารโลก 52 กำรเลือกปฏิบัติในภำคกำรเงินจำกัดกำรเข้ำถึงสินค้ำและบริกำรบำงอย่ำงในกลุ่มบุคคลที่มีควำมหลำกหลำยทำงเพศ ดังที่ ปรำกฏในกำรสำรวจถึงร้อยละ 30 รูปที่ 5.8 สรุปสภาพของปัญหาที่เกิดจากการเลือกปฏิบัติที่ บุคคลที่มีความหลากหลาย ทางเพศ แต่ละกลุ่มประสบในการเข้าถึงบริการในภาคการเงิน ตั้งแต่การได้รับบริการล่าช้าไปจนถึงการต้องไปใช้บริการกู้นอก ระบบ รูปที่ 5.8 ผลกระทบของกำรเลือกปฏิบัติเมื่อเข้ำถึงบริกำรทำงกำรเงิน แยกตำมประชำกรกลุ่มย่อย (เป็นร้อยละ) ที่มา: การวิเคราะห์ข้อมูลจากการสารวจของธนาคารโลก บ้ำนและที่อยู่อำศัย กำรเช่ำหรือซื้อที่อยู่อำศัยด้วยตัวเองหรือร่วมกับคู่ กำรเข้ำถึงอสังหำริมทรัพย์ หญิงรักหญิงที่ตอบแบบสอบถามรายงานการถูกเลือกปฏิบัติมากที่สุดเมื่อซื้ออสังหาริมทรัพย์ ตามมาด้วยชุมชนคนข้ามเพศและ ชายรักชาย (ร้อยละ 14) ประมาณร้อยละ 37 ของผู้ตอบแบบสอบถามที่มีความหลากหลายทางเพศ กล่าวว่าพวกเขาไม่ สามารถเป็นเจ้าของร่วมหรือซื้ออสังหาริมทรัพย์ร่วมกันกับคู่ (รูปที่ 5.9) เมื่อต้องการซื้อทรัพย์สิน ผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 53 15 กล่าวว่าพวกเขาถูกคุมคามหรือล้อเลียน เนื่องด้วยวิถีทางเพศหรืออัตลักษณ์ทางเพศ ร้อยละ 25 รายงานว่าประสบ เหตุการณ์เดียวกันในการเช่า บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศที่ตอบแบบสอบถามประมาณร้อยละ 7 ถึงร้อยละ 9.5 รายงานว่ามีประสบการณ์การถูกเลือกปฏิบัติในรูปแบบอื่น ๆ คล้ายคลึงกับในภาคส่วนอื่น ๆ ตัวอย่างเช่น การต้องพิสูจน์อัต ลักษณ์ตามเพศกาเนิดหรือถูกขอให้แสดงสถานภาพเกี่ยวกับวิถีทางเพศหรืออัตลักษณ์ทางเพศ รูปที่ 5.10 แสดงสถิติในกลุ่ม ประชากรย่อย ชี้ว่าหญิงรักหญิงถูกบอกปฏิเสธว่าคู่ของตนไม่สามารถเป็นเจ้าของร่วมในทรัพย์สินบ่อยครั้งที่สุด รูปที่ 5.9 เหตุกำรณ์กำรถูกเลือกปฏิบัติเมื่อซื้อทรัพย์สิน (เป็นร้อยละ) ที่มา: การวิเคราะห์ข้อมูลจากการสารวจของธนาคารโลก รูปที่ 5.10 หญิงรักหญิงที่รำยงำนว่ำประสบควำมยำกลำบำกในกำรซื้อสินทรัพย์ร่วมกับคู่ (เป็นร้อยละ) ที่มา: การวิเคราะห์ข้อมูลจากการสารวจของธนาคารโลก ผู้เข้ำร่วมกำรตอบแบบสำรวจรำยงำนถึงประสบกำรณ์ที่แตกต่ำงกันออกไปในเรื่องอสังหำริมทรัพย์ ขึ้นอยู่กับทรัพยำกร ส่วนบุคคล (เช่น รำยรับ พื้นฐำนครอบครัว หรืออัตลักษณ์) ประมาณหนึ่งในสี่ของผู้ตอบแบบสอบถามรายงานว่าถูกคุกคาม หรือล้อเลียนเมื่อพยายามจะทาการเช่า ร้อยละ 19.4 ถูกบอกว่าคู่ไม่สามารถย้ายเข้ามาอยู่ด้วยได้เมื่อทาการเช่า ร้อยละ 11.3 กล่าวว่าต้องปิดบังอัตลักษณ์เพื่อให้ยังคงสามารถอยู่ในบ้าน/เช่าต่อไปได้ ร้อยละ 9.7 ต้องจ่ายเงินมากกว่าคนที่ไม่ใช่บุคคลที่มี ความหลากหลายทางเพศ 54 ผลลัพธ์ 4 คนข้ำมเพศถูกเลือกปฏิบัติและถูกกีดกันรุนแรงที่สุดในกลุ่ม บุคคลที่มีควำมหลำกหลำยทำงเพศหญิงรักหญิงประสบปัญหำ มำกกว่ำชำยรักชำย ผลกระทบอันดับต้น ๆ ของการเลือกปฏิบัติ ต่อบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ที่ต้องการซื้อสินทรัพย์คือการที่พวกเขาไม่ สามารถเป็นเจ้าของร่วมกับคู่ได้ (ร้อยละ 41.9) การเลือกปฏิบัติยังส่งผลต่อสุขภาพจิตของผู้ตอบแบบสารวจ ร้อยละ 16.2 รายงานว่ามีปัญหาทางอารมณ์หลังจากถูกเลือกปฏิบัติ และประมาณหนึ่งในห้ารู้สึกว่าถูกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรมหรื อถูก ล้อเลียน เกือบร้อยละ 7 ของผู้ตอบแบบสารวจรายงานว่าเคยมีประสบการณ์การเป็นคนไร้บ้านเพราะถูกเลือกปฏิบัติด้วยเหตุ แห่งวิถีทางเพศหรืออัตลักษณ์ทางเพศของพวกเขา (รูปที่ 5.11) รูปที่ 5.11 ผลกระทบของกำรเลือกปฏิบัติเมื่อซื้อสินทรัพย์ (เป็นร้อยละ) ที่มา: การวิเคราะห์ข้อมูลจากการสารวจของธนาคารโลก 55 ทิศทำงข้ำงหน้ำ 06 ทำงเลือกด้ำนนโยบำย การเลือกปฏิบัติ การตีตรา การกีดกันทางสังคม และความรุนแรงช่วงชิงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ไปจากบุคคล ทาให้เขาขาด โอกาสที่จะใช้ทรัพยากรที่มีอยู่เพื่อพัฒนาชีวิต รายงานฉบับนี้แสดงให้เห็นว่า บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ อาจจะ ประสบการถูกเลือกปฏิบัติและการกีดกันในระดับที่สูงมาก ซึ่งทาให้พวกเขาไม่ได้ใช้ศัพยภาพที่มีอยู่อย่างเหมาะสม ผลลัพธ์ อย่างหนึ่งของการถูกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรมคือ พวกเขาไม่สามารถเข้าถึงบริการต่าง ๆ ที่มีอยู่ได้อย่างเต็มที่ ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง การศึกษาหรือการทาประกันสุขภาพ การที่ตลาดแรงงานเลือกปฏิบัติกับ บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ อาจทาให้พวก เขามีข้อจากัดในการแสดงศักยภาพในงาน และทาให้พวกเขามีรายได้ต่า ทั้งหมดนี้ส่งผลต่อสุขภาวะและศักยภาพของบุคคลที่ มีความหลากหลายทางเพศ ที่สามารถเป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศไทย ิ ี่ถูกระบุถึงในรายงานนี้ นโยบายเหล่านี้ บทที่ 6 นี้กล่าวถึงทางเลือกในเชิงนโยบาย ที่สามารถจัดการกับปัญหาการเลือกปฏิบัตท พิจารณาเป้าหมายของประเทศไทยกล่าวคือ (ก) เป้าหมายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (ข) คณะกรรมการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อ สตรี ซึ่งได้รับข้อเสนอแนะการทางานเกี่ยวกับวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศด้วย และ (ค) พระราชบัญญัติความเท่าเทียม ระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 ที่ทาให้การเลือกปฏิบัติต่อบุคคลด้วยเหตุที่เขาเป็นเพียงชายหรือหญิงหรือมีรูปลักษณ์ภายนอก แตกต่างจากเพศกาเนิด นโยบายเหล่านี้คานึงถึงประสบการณ์และแนวปฏิบัติระดับประเทศและนานาชาติ บทที่ 6 กล่าวถึงแง่มุมหกด้านที่ค วรให้ ความสาคัญในด้ านนโยบาย โดยพิจารณาจากข้อปฏิบัติจากนานาชาติที่ อาจเป็ น ประโยชน์ในบริบทของประเทศไทย กิจกรรมประกอบด้วยระยะสั้นและยาว และเสนอทางเลือกที่จะช่วยสร้างการมีส่วนร่วม และสภาพแวดล้อมที่สมานฉันท์ในประชาชนไทย แม้จะมีวิถีทางเพศ อัตลักษณ์ทางเพศ และการแสดงออกทางเพศที่แตกต่าง กัน ด้ำนที่ควรให้ควำมสำคัญที่ 1 ควำมตระหนักรู้เกี่ยวกับนโยบำยสำธำรณะ การประชาสัมพันธ์ข้อความด้านบวกเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมของคนที่มีความหลากหลายทางเพศสามารถก่อให้เกิดความ เปลี่ยนแปลงต่อการรับรู้ของคนและมาตรฐานทางสังคม การรณรงค์ระดับท้องถิ่นและระดับประเทศโดยใช้สื่อกระแสหลัก เช่นเดียวกับการใช้เทคนิคด้านการสื่อสารต่าง ๆ เพื่อให้ความรู้ที่จาเป็นกับสาธารณชนเกี่ยวกับความเท่าเทียมทางเพศ วิถีทาง เพศ อัตลักษณ์ทางเพศ และสิทธิของคนที่มีความหลากหลายทางเพศ และการไม่เลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งวิถีทางเพศและอัต ลักษณ์ทางเพศ สามารถลดการเลือกปฏิบัติและลดความรุนแรงที่เกี่ยวกับวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศได้ การรณรงค์ ระดับประเทศอาจจะมุ่งเน้นในเรื่อง (ก) การเสริมสร้างความตระหนักในด้านกฎหมายและนโยบายเกี่ยวกับความเท่าเทียมทาง เพศ และสิทธิที่เกี่ยวกับวิถีทางเพศ อัตลักษณ์ทางเพศและบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ (ข) การเสริมสร้างความ ตระหนักในหน่วยงานของรัฐ ภาคเอกชน ประชาสังคม และองค์กรสื่อ และสังคมโดยกว้าง ในเรื่องกฎหมายและนโยบาย เกี่ยวกับการไม่เลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ (ค) การแสดงเจตจานงของรัฐในการแก้ไขปัญหา เกี่ยวกับวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ และสร้างให้เกิดการมีส่วนร่วมของคนที่มีความหลากหลายทางเพศในสังคม (ง) การออกนโยบายและโครงการเพื่อแก้ปัญหาการมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจของคนที่มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทย 56 ด้วยหลักการนี้ รายงานนี้จึงขอเสนอนโยบายที่เกี่ยวข้องกับด้านที่ 1 สามข้อดังต่อไปนี้ ปฏิบัติกำรเชิงนโยบำยข้อที่ 1 สร้ำงควำมตระหนักและสร้ำงศักยภำพในกระทรวงหลักและบริกำรประชำชนที่สำคัญ วิธีการที่สาคัญรวมถึงการ จัดอบรม การสร้างความตระหนัก การสร้างศักยภาพเรื่องความเท่าเทียมทางเพศ และประเด็นวิถีทางเพศและ อัตลักษณ์ทางเพศ และ บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ให้กับพนักงานของกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวง แรงงาน กระทรวงสาธารณสุข โดยมุ่งเน้นกลุ่มพนักงานที่ให้บริการกับประชาชนโดยตรง เช่น ในงานส่วนทะเบียน ราษฎร์ โดยสามารถทาในระดับหน่วยงาน กรม หรือกระทรวง อาจใช้วิธีการรณรงค์หรือการจัดงานสาธารณะที่ ดึงดูดความสนใจในวันสากลหรือวันสาคัญของชาติ เพื่อเฉลิมฉลองหรือสร้างพื้นที่สาธารณะให้กับคนที่ มีความ หลากหลายทางเพศ และให้ข้อมูลเกี่ยวกับวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ รวมทั้งบริการต่าง ๆ จัดให้มีการอบรม เพื่อสร้างความตระหนักเกี่ยวกับเรื่องนี้ และจัดอบรมเชิง ปฏิบัติการเพื่อเสริมสร้างศักยภาพให้ ลูกจ้างของรัฐเพื่อให้ สามารถให้บริการคนที่มีความหลากหลายทางเพศให้อย่างเหมาะสมกับความต้องการและเป็นมิตร กิจกรรมเหล่านี้ อาจรวมไปถึงการสร้างสื่อโซเชียลหรือสื่อสิ่งพิมพ์สาหรับการสร้างความละเอียดอ่อนในประเด็นดังกล่างและเพื่อ ขับเคลื่อนสังคมด้วย กิจกรรมเหล่านี้ควรกระทาโดยมีเจตจานงและการสนับสนุนจากผู้มีอานาจตัดสินใจระดับ อาวุ โ สและจากการสร้ า งพื้ น ที่ ป ลอดภั ย ที่ ลู ก จ้ า งมี โ อกาสมี ส่ ว นร่ ว มและแสดงความคิ ด เห็ น ได้ อ ย่ า งเปิ ด เผย ตรงไปตรงมา กำรอบรมเชิงปฏิบัติกำรเพื่อเสริมสร้ำงศักยภำพของประเทศไทย ธนาคารโลกร่วมกับกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการนาร่องเป็นเวลาสามวัน เพื่อ สร้างศักยภาพการนาพระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 ไปใช้ การอบรมเชิงปฏิบัติการนี้พัฒนาขึ้นเพือ ่ ใช้ตอบโจทย์ความต้องการที่เฉพาะของข้าราชการในตาแหน่งหลักและกระทรวงที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วยโมดูลที่สร้าง ความเข้าใจในเรื่องอัตลักษณ์ทางเพศและความลื่นไหลทางเพศ เชื่อมโยงถึงบรรทัดฐานของสังคมในเรื่องเพศ บทบาททาง เพศ อัตลักษณ์ต่าง ๆ และวิถีทางเพศ การอบรมสร้างพื้นที่ให้ผู้เข้าร่วมได้เรียนรู้ผ ลกระทบของการตีตรา การเลือกปฏิบัติ และความรุนแรง เพื่อบ่มเพาะความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติต่อเพื่อนมนุษย์อย่างเหมาะสมและการสื่อสารอย่างเคารพใน ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ นอกเหนือไปจากนี้ การอบรมนี้มุ่งสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมทางสังคมและเศรษฐกิจ และประเด็นด้านความหลากหลาย รวมถึงการตีตรา การเลือกปฏิบัติ และความรุนแรงที่พบในประเทศไทย และเปิดโอกาส ให้สารวจองค์ประกอบทางสังคมและวัฒนธรรมในประเทศไทย การอบรมมุ่งสร้างทักษะที่ช่วยให้ผู้เข้าร่วมสามารถแยกแยะ และมองเห็นวิธีจัดการกับการเลือกปฏิบัติในด้านต่าง ๆ เช่ น การศึกษา การจ้างงาน ตลาดแรงงาน สุขภาพ และการ คุ้มครองและประกันสังคม ภายใต้กรอบคิดเรื่องราคาที่ต้องจ่ายเมื่อเกิดการกีดกันทางสังคมและเศรษฐกิจ การอบรมนี้นาเสนอหลักการสิทธิมนุษชนสากลที่เกี่ยวข้องกับความเท่าเทียมทางเพศ รวมถึงปฏิญญาสากลสิทธิมนุษยชน กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและการเมือง กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรี ในทุกรูปแบบ และหลักการยอกยาการ์ตา เพื่อให้ผู้เข้าร่วม เข้าใจหลักการสิทธิมนุษยชนและพันธกิจของประเทศไทย ทาให้เข้าใจผู้เข้าร่วมพระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 ชัดเจนขึ้น และยืนยันเจตจานงค์ของรัฐบาลไทยในการขจัดการเลือกปฏิบัติและความรุนแรงที่มีฐานมาจาก วิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ 57 ปฏิบัติกำรเชิงนโยบำยข้อที่ 2 ให้ลูกจ้างรัฐ ครู แพทย์ และพนักงานในภาคการศึกษาและสุขภาพอื่น ๆ รับทราบเกี่ยวกับกฎหมายและนโยบาย การไม่เลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ เป็นเรื่องสาคัญอย่างยิ่งที่บุคคลากรเหล่านี้จะต้อง รับทราบถึงความต้องการ ความเปราะบาง และการคุ้มครองเด็กและบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ การสร้าง ความตระหนั ก ท าได้ โ ดยจั ด อบรม หรื อ จั ด อบรมเชิ งปฏิ บั ติ ก ารภาคบั งคั บ เพื่ อ วิ เ คราะห์ ก รณี ก ารเลื อ กปฏิบัติ จรรยาบรรณ และกฎหมายและนโยบายที่คุ้มครองกลุ่มคนที่มีความหลากหลายทางเพศ การอบรม การสร้างความตระหนัก และการสร้างศักยภาพ อาจจะริเริ่มจากรัฐบาล และร่วมมือกับองค์กร ภาค ประชาสังคมที่ทางานด้านความหลากหลายทางเพศ องค์กรชุมชนเองก็มักมีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญในการ ทางานกับการตีตรา การเลือกปฏิบัติ และความรุนแรงที่มีเหตุมาจากวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ ซึ่งจะเป็น ประโยชน์อย่างมาก กำรอบรมเพื่อลดกำรตีตรำที่มีเหตุมำจำกวิถีทำงเพศและอัตลักษณ์ทำงเพศ โดยสถำบันวิลเลียม สถาบันวิลเลียมทางานวิจัยด้านกฎหมายและนโยบายเกี่ยวกับวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ โดยผลิตงานวิจัยที่มีความ ชัดเจนและเป็นอิสระ มีโปรแกรมการศึกษาด้านการศาล ซึ่ง ได้ทาการอบรมผู้พิพากษาและบุคลากรในระบบศาลและความ ยุติธรรมไปแล้วกว่า 5,000 คนจากทุกรัฐในสหรัฐอเมริกา โครเอเชีย เอลซัลวาดอร์ มอนเตเนโกร เซอร์เบีย และแคริบเบียน รวมถึงผู้เข้าร่วมการประชุมผู้พิพากษานานาชาติด้วย โปรแกรมดังกล่าวใช้ทรัพยากรความรู้และเอกสารจากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย มลรัฐลอสแอนเจลิส หนึ่งในมหาวิทยาลัยวิจัย ชั้นแนวหน้าของโลก และจากเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญที่กว้างขวางในด้านวิชาการ กฎหมายของนโยบายของมหาวิทยาลัยอีกด้วย งานของสถาบันถูกใช้ในการอภิปรายเชิงนโยบายระดับภูมิภาคและระดับโลก การวิจัยเชื่อมต่อผู้ตัดสินใจเชิงนโยบายเข้ากับผู้นา ชุมชน สร้างการอบรมที่สาคัญอย่างยิ่งต่อผู้บังคับใช้กฎหมายและเจ้าหน้าที่ของรัฐ การอบรมนี้ยังมีให้กับนักวิชาการและผู้นารุ่น ใหม่อีกด้วย นอกจากนี้มีนักกฎหมาย ผู้มีหน้าที่ออกกฎหมาย ผู้นาชุมชน ผู้นาธุรกิจ และนักศึกษาวิชากฎหมาย เป็นผู้เข้าร่วม ในเวทีการศึกษา การประชุม และการอบรมหลายครั้งที่เกิดขึ้น การอบรมของสถาบันมีรูปแบบที่หลากหลาย โดยทั่วไปจะมีองค์ประกอบการให้ความรู้แบบจากเพื่อนถึงเพื่อน โดยผู้เข้าร่วมจะ เข้ากลุ่มกับผู้ที่มาจากอาชีพ สาขา และความเชี่ยวชาญเดียวกัน (เช่น กลุ่มผู้พิพากษา ทนาย ผู้บังคับใช้กฎหมาย) การแยก จัดเป็นกลุ่มแบบนี้สร้างให้เกิดพื้นที่ที่ผู้เข้าร่วมสบายใจ สามารถเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ และไม่รู้สึกเปราะบาง โดยเฉพาะ เมื่อบริบททางสังคมและวัฒนธรรมไม่เอื้อต่อการเรียนรู้และอภิปรายเกี่ยวกับความเป็นชนส่วนน้อยทางด้านเพศและเพศสภาพ ความเป็นเพื่อนจะสามารถสร้างความใกล้ชิดที่มีลักษณะเฉพาะ ทาให้เกิดสภาพการเรียนรู้ที่เหมาะสม การพัฒนาหลักสูตรและ รูปแบบอาจจะทาร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและบุคลากรท้องถิ่น รูปแบบอาจจะมี เป็นการบรรยาย การอภิปรายในกลุ่มย่อย การทาแบบฝึกหัด การนาเสนอ การอบรมจะออกแบบจากฐานของข้ อมูลวิจัยกลุ่มประชากรที่มีความหลากหลายทางเพศ ล่าสุดและมักจะประกอบด้วยข้อมูลที่สาคัญดังต่อไปนี้ • การสร้างความเข้าใจสถานการณ์ความเป็นจริงเกี่ยวกับบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ โดยนาเสนอหลักฐานและ ข้อมูลทางสังคมวิทยาที่ถก ู ต้อง • ประเด็นทางกฎหมายทีพ ่ บบ่อยภายในกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ (อาชญากรรมที่เกิดจากความเกลียด ชัง การเลือกปฏิบัติ ความรุนแรงในครอบครัว) • การทบทวนมาตรฐานทางกฎหมาย • ข้อมูลเกี่ยวกับความต้องการของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ทีต ่ กเป็นเป็นคู่กรณีความหรือพยาน และบทบาท 58 อื่นในทางศาลที่พบได้ในกลุ่ม บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ที่มา: https://williamsinstitute.law.ucla.edu/judicial-training-program/ ปฏิบัติกำรเชิงนโยบำยข้อที่ 3 ประเทศไทยมีศักยภาพที่จะเป็นผู้นาโลกด้านการมีส่วนร่วมของคนที่มีความหลากหลายทางเพศ อาจมีความ จาเป็นต้องสร้ำงเจตจำนงในกำรสร้ำงกำรมีส่วนร่วมของคนที่มีควำมหลำกหลำยทำงเพศในรัฐบำลระดับสูง ใน ฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาประเทศไทยตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจ “ประเทศไทย 4.0” ทั้งในระดับประเทศ และระดับนานาประเทศ และจาเป็นต้องยืนยันสิทธิที่เท่าเทียมและโอกาสสาหรับคนไทยทุกคน โดยไม่แบ่งแยกเพศ วิถีทางเพศ หรืออัตลักษณ์ทางเพศ เครื่องมือที่มีศักยภาพในการสร้างให้เกิดเจตจานงดังกล่าว ได้แก่ การแถลงการณ์ ต่ อ สาธารณะโดยนายกรั ฐ มนตรี หรื อ ผู้ ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายในการสร้ า งให้ เ กิ ด การมี ส่ ว นร่ ว มของคนที่ มี ค วาม หลากหลายทางเพศในระดับประเทศ หรือผู้นาด้าน ความหลากหลายทางเพศ กล่าวรายงานต่อนายกรัฐมนตรี ด้ำนที่ควรให้ควำมสำคัญที่ 2 ควำมเท่ำเทียมของคนที่มีควำมหลำกหลำยทำงเพศ และกำรไม่เลือกปฏิบัติบนฐำนของ วิถีทำงเพศและอัตลักษณ์ทำงเพศในกำรจ้ำงงำน ผู้ออกนโยบายสามารถใช้การศึกษานี้เป็นแนวทางในการกาหนดแนวทางขจัดการเลือกปฏิบัติต่อบุคคลที่มีความหลากหลาย ทางเพศในตลาดแรงงาน กลุ่มตัวอย่างของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ในการศึกษาครั้งนี้รายงานถึงการถูกปฏิเสธใน ขั้นตอนการรับเข้าทางานอยู่บ่อยครั้งด้วยเหตุจากวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศของพวกเขา ปฏิบัติการเชิงนโยบายในด้าน นี้มีดังต่อไปนี้ ปฏิบัติกำรเชิงนโยบำยข้อที่ 1 พัฒนำกฎหมำยและดำเนินกำรงำนตำมกฎหมำยที่ว่ำด้วยควำมเท่ำเทีย มและกำรไม่เลือกปฏิบัติในกำรจ้ำงงำน เพื่ อ ประกั น ไม่ ใ ห้ มี ก ำรเลื อ กปฏิ บั ติ ด้ ว ยเหตุ แ ห่ ง วิ ถี ท ำงเพศและอั ต ลั ก ษณ์ ท ำงเพศ ให้ ค วามส าคั ญ กั บ ประสบการณ์การถูกเลือกปฏิบัติในการจ้างงานของผู้ที่ประสบความสาเร็จในการเข้าทางานในงานในระบบ การวิจัย ในประเทศไทยโดย Suriyasarn (2014) และประสบการณ์จากนานาชาติชี้ว่า การพัฒนากฎหมายและนโยบาย เกี่ ย วกั บ การยุ ติ ก ารเลื อ กปฏิ บั ติ ใ นการจ้ า งงานและการสร้ า งกลไกการปฏิ บั ติ ใ ห้ เ ป็ น ไปตามกฎหมายนั้ น เป็ น กระบวนการที่มีประสิทธิภาพ กฎหมายสามารถครอบคลุมการเลือกปฏิบัติในการจ้างงานทั้งทางตรงและทางอ้อม และส่งเสริมโอกาสและการปฏิบัติที่เท่าเทียมในทุกภาคส่วนและกลุ่มประชากรในภาคแรงงาน รวมทั้งแรงงานของ กลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศด้วย นอกจากนี้ ควรห้ามไม่ให้มีการเลือกปฏิบัติในทางกฎหมาย ข้อบังคับ กฎ นโยบาย และแนวปฏิบัติใด ๆ ที่เกี่ยวกับการจ้างงานและอาชีพของสถาบัน บริษัท และนายจ้าง ทั้งในภาครัฐ และเอกชน ท้ายที่สุด พนักงานของกระทรวงแรงงานควรมีความคุ้นเคยกับข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการเลือกปฏิบัติ ด้วยเหตุแห่งวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ ปฏิบัติกำรเชิงนโยบำยข้อที่ 2 สร้ำงกำรบังคับใช้กฎหมำยและกลไกกำรติดตำมผลสำหรับกำรร้องทุกข์ตำมกลไกกฎหมำยใหม่และให้กำร เยียวยำกรณีกำรถูกเลือกปฏิบัติ โดยเฉพำะในคนข้ำมเพศ การติดตามอาจจะทาได้โดยการ การสร้างโมดูลพิเศษ ในการสารวจด้านแรงงาน โดยถามคาถามคล้ายคลึงกับที่ใช้ในแบบสารวจสาหรับการศึกษานี้ การติดตามผลอาจจะ 59 รวมถึงการทาแบบสอบถามเมื่อจบการดาเนินการ หรือในการตรวจวัดคุณภาพการบริหารรายกรณีกับเหยื่อผู้ซึ่ง ตัดสินใจรายงานกรณีการถูกเลือกปฏิบัติ กำรติดตำมผล กำรร้องเรียน และกำรบังคับใช้กฎหมำยที่มีประสิทธิภำพ ในการสร้างให้เกิดระบบการติดตามผล การร้องเรียน และการบังคับใช้กฎหมายที่มีประสิทธิภาพ ควรทาสิ่งต่าง ๆ ดังนี้ - สร้างคานิยามหลัก - ระบุวัตถุประสงค์และขอบเขต - สร้างหลักการหลัก ๆ ว่าจะใช้ระบบใดเป็นฐานในการดาเนินงาน - มีบุคลากรที่มศี ักยภาพและมีเวลาให้กับงาน - มีแหล่งทุนที่เชื่อถือได้ - สร้างการจัดการและกลไกเพื่อให้เกิดการติดตามผลและการประเมินผลกระทบ ที่มา: UNCTAD (2016) ปฏิบัติกำรเชิงนโยบำยข้อที่ 3 สร้ำงและส่งเสริมบทบำทของคณะกรรมกำรโอกำสกำรจ้ำงงำนที่เท่ำเทียมที่มีควำมเป็นอิสระ ให้เป็นกลไกรับ เรื่องร้องเรียนในระดับประเทศ เป็นที่ปรึกษำ และติดตำมกำรดำเนินงำนในด้ำนนี้ โดยจะต้องเชื่อมต่อกับกลไกที่มี อยู่ คณะกรรมการซึ่งประกอบด้วยสมาชิกไตรภาคีจากทุกเพศสภาพที่มีประสบการณ์การถูกจ้างงานและมีความ เชี่ยวชาญด้านเพศสภาพจะตรวจสอบการเลือกปฏิบัติในการจ้างงานและอาชีพ และมีข้อเสนอแนะด้านนโยบายต่อ รัฐบาล ปฏิบัติกำรเชิงนโยบำยข้อที่ 4 สนับสนุนให้เกิดกำรสนทนำระหว่ำงผู้จ้ำงงำนในภำคเอกชน กลุ่มของลูกจ้ำง และคนงำนที่เป็น คนที่มีควำม หลำกหลำยทำงเพศ เพื่อให้เกิดกำรคุ้มครองสิทธิของลูกจ้ำงที่เป็นคนที่มีควำมหลำกหลำยทำงเพศ และส่งเสริม กำรไม่เลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งวิถีทำงเพศและอัตลักษณ์ทำงเพศ การเลือกปฏิบัติที่บุคคลที่มีความหลากหลาย ทางเพศในประเทศไทยเผชิญนั้นส่วนมากเกิดจากทัศนคติ และพฤติกรรมในแง่ลบของประชากรโดยทั่วไป ซึ่งถูกทา ให้ทวีขึ้นโดยเนื้อหาในประเด็นความหลากหลายทางเพศที่ปรากฎในเพศศึกษาและสุขศึกษา และภาพจาในแง่ลบ เกี่ยวกับบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศที่พบเห็นได้ทั่วไปในโซเชียลมีเดีย โทรทัศน์ และภาพยนตร์ การจะแก้ไข ทัศนคติและภาพจาเหล่านี้ จาเป็นต้องอาศัยกิจกรรมเชิงรุก การสนทนาทางสังคม ความต่อเนื่องของการประสาน ความสัมพันธ์ ระหว่างองค์กรของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ องค์กรแรงงาน และองค์กรผู้จ้างงาน และ ภาคเอกชน เพื่อให้เกิดการส่งเสริมความเท่าเทียมและการปกป้องสิทธิของคนที่มีความหลากหลายทางเพศ ประกำศนียบัตรธุรกิจที่เป็นมิตรต่อคนที่มีควำมหลำกหลำยทำงเพศ ในโคลัมเบีย หอการค้าออกใบประกาศนียบัตร “ธุรกิจที่เป็นมิตร” ให้กับบริษัทเอกชนและธุรกิจที่เปิดกว้างและเข้าถึงได้ สาหรับชุมชนของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ โดยองค์กรจะผ่านกระบวนการห้าขั้นตอน จัดทานโยบายขององค์กร ฝ่ายบริหารและลูกจ้างของบริษัทจะต้องผ่านการอบรมการให้บริการแบบมีส่วนร่วมและการทาให้ความหลากหลายทางเพศ 60 เป็นเรื่องปกติ การได้รับการรับรองทาให้บริษัทได้ประโยชน์พิเศษหลายประการ เช่น การสร้างเครือข่ายกับสมาชิกและ บริษัทอื่น การเข้าถึงการประชุมหรืองานพิเศษ และการมีโอกาสสร้างความสัมพันธ์กับบริษัทอื่น รวมถึงหน่วยงานของรัฐ ที่มา: http://cclgbt.co/certificaciones/ ด้ำนที่ควรให้ควำมสำคัญที่ 3 ควำมเท่ำเทียมในกำรดูแลสุขภำพ แก่บุคคลที่มีควำมหลำกหลำยทำงเพศ รายงานฉบับนี้เสนอปฏิบัติการเชิงนโยบายรวมสามข้อด้วยกันสาหรับการสร้างความเท่าเทียมในการดูแลสุขภาพสาหรับบุคคล ที่มีความหลากหลายทางเพศ ปฏิบัติกำรเชิงนโยบำยข้อที่ 1 พัฒนำคู่มือ และรวมประเด็นเนื้อหำด้ำนกำรไม่เลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งวิถีทำงเพศและอัตลักษณ์ทำงเพศไว้ใน กำรอบรมบุคลำกรในกำรให้บริกำรสุขภำพ ประเทศไทยมีระบบประกันสุขภาพหลักสามระบบ ซึ่งประชาชนไทย ทุกคนจะได้รับสิทธิในการประกันอย่างน้อยหนึ่งในสามด้าน ดังนั้น การปฏิบัติการเชิงนโยบายที่สาคัญที่เชื่อมโยงกับ ระบบดังกล่าวคือ การสร้างหลักประกันให้คนที่มีความหลากหลายทางเพศสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพ ณ หน่วย ให้บริการ ได้โดยไม่ถูกเลือกปฏิบัติ ได้รับบริการที่มีความละเอียดอ่ อนต่ อวิ ถี ทางเพศและอัตลั กษณ์ ทางเพศที่ หลากหลาย และเป็นมิตร ดังนั้น อย่างน้อยที่สุดบุคลากรด้านสุขภาพจะต้องได้รับการอบรมเกี่ยวกับการไม่เลือก ปฏิบัติ อาจจะจัดให้มีการพัฒนาคู่มือและหลักสูตรสาหรับอุตสาหกรรมการประกันชีวิตและสุขภาพ ซึ่งจะสามารถ ช่วยสร้างความตระหนักถึงหลักการและกลไกภายใต้พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 ในการ ดาเนินการเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติและการรับเรื่องร้องเรียนได้ด้วย1 ขั้นตอนแรกในการปฏิบัติด้านนี้ ได้แก่ การ สนับสนุนและขยายการให้บริการที่มีความละเอียดอ่อนและเป็นมิตรต่อคนที่มีความหลากหลายทางเพศ โดยเรียนรู้ จากรูปแบบของคลีนิคชุมชน เช่น คลีนิคแทนเจอรีน2 สถาบันวิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย กรุงเทพฯ และคลีนิค เพศหลากหลายในวัยรุ่น3 ศูนย์สุขภาพเด็กและวัยรุ่น โรงพยาบาลรามาธิบดี ปฏิบัติกำรเชิงนโยบำยข้อที่ 2 พัฒนำและใช้มำตรกำรป้องกันบริษัทประกันภัยเอกชนจำกกำรซักถำมเกี่ยวกับวิถีทำงเพศและอัตลักษณ์ทำง เพศของบุคคล สามารถสารวจการตั้งข้อกาหนดทางกฎหมายเพื่อป้องกันบริษัทประกันภัยเอกชนจากการซักถาม ดังกล่าวได้ ปฏิบัติกำรเชิงนโยบำยข้อที่ 3 ื ประกันเป็น พัฒนำและใช้มำตรกำรทำงกฎหมำยที่กำหนดให้บริษัทประกันภัยเอกชนมีนโยบำยที่จะให้คู่ของผู้ถอ ผู้รับประโยชน์ได้ ไม่ว่ำจะสมรสหรือไม่ หรือมีอัตลักษณ์ทำงเพศแบบใด 1 พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ: www.hrw.org/news/2015/09/21/thailand-gender-equality-act 2 ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับคลีนิคแทนเจอรีน ไปที่: https://www.facebook.com/pages/Tangerine-Community-Health- Center/1696908850533037. 3 สาหรับข้อมูลเพิ่มเติม กรุณาไปที่: https://www.bangkokpost.com/print/431248/. 61 ด้ำนที่ควรให้ควำมสำคัญที่ 4 กำรศึกษำสำหรับทุกคน ขั้นตอนการสร้างการศึกษาที่นักเรียนทุกคนมีสว ่ นร่วม ไม่ว่านักเรียนผู้นั้นจะมีวิถีทางเพศ อัตลักษณ์ทางเพศ และการแสดงออก ทางเพศอย่างไร ทั้งนี้เพื่อลดการเลือกปฏิบัติและการคุกคามนักเรียนที่ มีความหลากหลายทางเพศนั้นตรงกับเป้าหมายการ พัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายที่ 4 (สร้างหลักประกันว่าทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างครอบคลุมและเท่าเทียม และสนับสนุน โอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต) และเป้าหมายที่ 5 (ขจัดการเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งเพศสภาพ) ขั้นตอนเหล่านี้จะเป็นการ ดาเนินงานที่สอดคล้องกับความพยายามของสหประชาชาติ ซึ่งจัดการข่มเหงรังแกไว้ว่าเป็นความเสี่ยงพิเศษสาหรับเด็กที่มี ความเปราะบาง และพบว่าการข่มเหงรังแกนั้นเป็น “อุปสรรคต่อการเรียนรู้และการเข้าถึงวงจรการศึกษาอย่างเต็มรูปแบบจาก วัยเด็กถึงระดับมหาวิทยาลัย ”1 เช่นเดียวกันกับ ยุทธศาสตร์ขององค์การเพื่อการศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่ง สหประชาชาติ (ยูเนสโก) คือ การสร้างหลักประกันว่าสภาพแวดล้อมทางการศึกษาจะมีความปลอดภัย เปิดให้ทุกคนมีส่วน ร่วม และสนับสนุนทุกคน (UNESCO 2017) มีข้อเสนอปฏิบต ั ิการเชิงนโยบายสองประการ สาหรับด้านการศึกษา กล่าวคือ ปฏิบัติกำรเชิงนโยบำยข้อที่ 1 ผนวกแนวทำงเรื่องควำมเท่ำเทียมทำงเพศและกำรไม่เลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งวิถีทำงเพศและอัตลักษณ์ทำงเพศ ไว้ในกำรอบรมก่อนเริ่มงำนและในช่วงระหว่ำงทำงำน สำหรับผู้บริหำรโรงเรียน และครูทั้งใหม่และเก่ำ ในหลาย แห่ง ครูคือผู้ที่เป็นแรงสนับสนุนและเป็นแหล่งข้อมูลความรู้สาหรับนักเรียน เป็นผู้ที่มีบทบาทมากกว่าเพียงผู้สอนวิชา ตามหลักสูตร ในหลาย ๆ โรงเรียน ครูเป็นทั้งผู้ชี้ทาง ที่ปรึกษา ผู้ติดตามตรวจสอบโรงเรียน และบางครั้งก็ทาหน้าที่ เป็นครูใหญ่ด้วย ผลการศึกษาชี้ว่าครูอาจจะเป็นที่มาของการไม่เคารพ และละเมิดสิทธิด้านความปลอดภัย ด้านการ ไม่เลือกปฏิบัติ และด้านสุขภาพของนักเรียนที่มีความหลากหลายทางเพศผ่านคาพูดและพฤติกรรมของครู หลักฐาน ชี้ว่าครูสามารถส่งผลกระทบในทางบวกให้กับนักเรียนที่มีความหลากหลายทางเพศได้ ครูสามารถทาให้พวกเขามี ความมั่นใจในตัวเองมากขึ้น ขาดเรียนน้อยลง รู้สึกปลอดภัย และเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนและชั้นเรียน รวมทั้งมี ผลการเรียนที่ดีขึ้น (Kosciw et al. 2012; Jones and Hillier 2012) อย่างไรก็ดี ครูต้องการการสนับสนุนเพื่อให้ สามารถสร้างบรรยากาศที่ สอนในแบบที่นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วม (Ollis 2013) บุคลากรอื่น ๆ ในโรงเรียน เช่น ผู้บริหาร ผู้ให้คาปรึกษา พยาบาล และผู้ที่มีความเกี่ยวข้องกับการสร้างบรรยากาศในโรงเรียนก็เช่นกัน เป็นเรื่อง สาคัญที่พวกเขาจะต้องได้รับการอบรมและการสนับสนุนในด้านนี้ด้วย ั อบรมในชิทำนำ ประเทศเนปำล กำรรวมกลุ่มของครูนก ในปีพ.ศ. 2557 องค์กรเนปาลชื่อบลูไดมอนด์โซไซตี้ หรือบีดเี อส (Blue Diamond Society--BDS) ด้วยการ สนับสนุนจากธนาคารโลก ได้พัฒนาโปรแกรมนาร่องในการอบรมครูกลุ่มหนึ่ง ในหัวข้อ “จะทาอย่างไรให้ โรงเรียนปลอดภัยสาหรับนักเรียนที่มีความหลากหลายทางเพศ” เพื่อให้พวกเขาสามารถไปอบรมครูและผูบ ้ ริหาร ของโรงเรียนต่อได้ บีดีเอสได้พัฒนาทรัพยากรดังเช่น คู่มือการอบรม ชุดเครื่องมือในการอบรมสาหรับครู และ หนังสือคาถามที่พบบ่อย 1 ผู้แทนพิเศษสหประชาชาติเรียกร้องนานาชาติให้ยุติการรังแก http://www.un.org/sustainabledevelopment/blog/2015/10/un-envoy-calls-for-concerted-efforts-to-eliminate- bullying-in-all-regions/. 62 ชุดเครื่องมือพัฒนาขึ้นผ่านการปรึกษากับผู้เชี่ยวชาญจานวนมาก รวมถึงนัก กฎหมาย และครู ชุดเครื่องมือที่ ประกอบด้วยเครื่องมือสาหรับครูใหญ่ ครู นักเรียน และผู้ปกครองนีไ ้ ด้ถูกนาไปใช้อบรมครูในภาคกลาง ตะวันออก และตะวันตกของเนปาล โดยความสนับสนุนของธนาคารโลก ผู้เข้าร่วมมีเจตจานงร่วมกันในการเข้าไปช่วยหนุน เสริมกระบวนการคัดเลือกและการมีส่วนร่วมของนักเรียนที่มีความหลากหลายทางเพศ ประกันให้เกิดกฎการ แต่ งกายที่ ยื ด หยุ่ น และให้ มี ห้ อ งน้ าที่ เ หมาะสม รวมถึ งการมี ท างเลื อ กช่ อ ง “อื่ น ๆ” ส าหรั บ เพศสภาพใน แบบฟอร์มต่าง ๆ ประกันให้สภาพแวดล้อมของโรงเรียนเป็นมิตรและเคารพต่อนักเรียนที่มีความหลากหลายทาง เพศ ครูที่ได้รับการอบรมได้พัฒนากลุ่มผู้อบรมครูของชิทานาขึ้น ด้วยความร่วมมือระหว่างองค์กรพัฒนาเอกชน และรัฐจึงได้ทาให้เกิดโครงสร้างและพื้นที่ที่เอื้อให้เกิดระบบการศึกษาที่มีส่วนร่วมในเนปาล ที่มา: Blue Diamond Society (2013, 2015), Gurung (2015), Mehmood (2014), Gaylaxy (2014) หมำยเหตุ ครูที่ได้รับการอบรมกลุ่มแรก ๆ จานวน 176 คนได้จดทะเบียนเป็นองค์กรพัฒนาเอกชนชื่อ “ชิทานา” (แปลว่า ปัญญาการรับรู้) เพื่อให้การอบรมเรื่องเพศสภาพ เพศวิถี และอัตลักษณ์ทางเพศ โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ประเด็นความหลากหลายทางเพศถูกผนวกเข้าไว้ในหลักสูตรและนโยบายของ โรงเรียน และพัฒนาให้เกิดเป็นสภาพแวดล้อมทางการศึกษาที่เป็นมิตรสาหรับผู้เรียนทุกคน ปฏิบัติกำรเชิงนโยบำยข้อที่ 2 สร้ำงควำมตระหนักให้กับสังคมในโรงเรียน เกี่ยวกับกำรไม่เลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งวิถีทำงเพศและอัต ลักษณ์ทำงเพศ กำรรำยงำนควำมรุนแรง กลไกกำรส่งต่อ และกำรสร้ำงศักยภำพในกำรป้องกันและ รับมือกับควำมรุนแรงและกำรเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งวิถีทำงเพศและอัตลักษณ์ทำงเพศ รวมถึงกำร รังแกและกำรรังแกทำงโลกไซเบอร์ หลักฐานชี้ว่าวิธีแก้ปัญหาการรังแกกัน ความรุนแรง และการเลือก ปฏิบัติในโรงเรียนคือ การใช้กลวิธีที่มีหลายแง่มุมและเป็นองค์รวม เข้าถึงสังคมทุกส่วนในโรงเรียน สร้าง ความเข้มแข็งให้กับหลายภาคส่วนที่เชื่อมร้อยกันอยู่ในระบบโรงเรียน (Hawkins, Pepler, and Craig 2001; Scheckner et al. 2002; Smith et al. 2004) ซึ่งรวมไปถึงการสร้างบรรยากาศและคติธรรมด้าน การหนุนเสริมกันและสร้างการมีส่วนร่ วมสาหรับคนทุกกลุ่มในโรงเรียน การให้สิ่งเหล่านี้สะท้อนอยู่ใน หลักสูตรและวิธีการสอน และการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครอง ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่าง ๆ เพื่อพัฒนาสุขภาวะทางสังคมและอารมณ์ในโรงเรียน หลักการคือการเปลี่ยนแปลงนั้นมีโอกาสเกิดขึ้น มากกว่าเมื่อสังคมในโรงเรียนมีวิสัยทัศน์และเจตจานงร่วมกันในการสร้างสภาพแวดล้อมที่ทุกคนมีส่วนร่วม (Jimerson and Huai 2010; Farrington and Ttofi 2009; Plog et al. 2010) การทางานกับสังคมทุกส่วนในโรงเรียนเป็นการมองเห็นว่าการแก้ปัญหาการรังแก ความรุนแรง และการ เลือกปฏิบัตินั้นต้องอาศัยทางออกที่มีหลายแง่มุม ในทางปฏิบัติ วิธีการแบบนี้ต้องใช้การวางแผนและ ทรัพยากร (ด้านบุคคลและการเงิน) มากกว่า แต่มีแนวโน้มที่จะก่อให้เกิดประสิทธิผลและมีความยั่งยืนใน ระยะยาว นอกเหนือไปจากนี้ กระทรวงศึกษาธิการสามารถทางานใกล้ชิดกับ คณะกรรมการวินิจฉัยการ เลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมระหว่างเพศ (วลพ.) ของกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ซึ่ง ปฏิบัติงานภายใต้พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 โดยสามารถสร้างความตระหนัก ในประเด็นที่มีความจาเพาะต่อวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ ให้การอบรมเกี่ยวกับโครงสร้างในการ รายงานและส่งต่อ และสร้างความเข้มแข็งให้กับกลไกการจัดการกับเรื่องร้องเรียนทั้งหมด ดังนี้แล้ว 63 ผู้บริหารของโรงเรียน ครู ผู้ปกครอง และนักเรียนเองจะได้มีความตระหนักและสามารถพึ่งพาช่องทางการ ร้องเรียนที่สาคัญนี้ได้ กำรป้องกันกำรเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งวิถีทำงเพศและอัตลักษณ์ทำงเพศ และกำรทำให้โรงเรียนมีสภำพแวดล้อมที่ สนับสนุนผู้เรียนทุกเพศสภำพ องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) และองค์การแพลนนานาชาติกาลังทางาน ร่วมกับมูลนิธิแพททูเฮลท์และมูลนิธิเอ็มพลัส เพื่อทาโครงการนาร่อง Respect for All ในกรุงเทพและเชียงใหม่ เพื่อ ป้องกันการรังแกกันในโรงเรียนและความรุนแรงรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนนักเรียนทุกคน ไม่ว่าจะมีวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศแบบใดก็ตาม “Respect for All: ส่งเสริมโรงเรียนในประเทศไทยที่ปลอดภัย และเข้าใจเรื่องเพศสภาพ” เป็นโครงการระยะเวลาสามปี สนับสนุนโดยสานักงานแพลนนานาชาติแห่งประเทศสวีเดนและ กระทรวงการศึกษา วัฒนธรรม และวิทยาศาสตร์ ประเทศเดนมาร์ก ผ่านการดาเนินงานของยูเนสโก โครงการนี้พัฒนาขึ้น เพื่อตอบรับกับผลการวิจัยในปีพ.ศ. 2557 ในประเด็นดังกล่าว และออกแบบขึ้นเพื่อทดสอบการนานโยบายและและวิธีการ ไปใช้กับหลักสูตรที่สอนในโรงเรียนและในการมีส่วนร่วมกับกิจกรรมต่าง ๆ ในโรงเรียนในแต่ละวัน ที่มา: Mahidol University, Plan International Thailand, and UNESCO (2014); UNESCO and Plan International Thailand (2015) ด้ำนที่ควรให้ควำมสำคัญที่ 5 ควำมเท่ำเทียมด้ำนสิทธิทำงกฎหมำย ้ ีสข ปฏิบัติการเชิงนโยบายในด้านนีม ี่ ้อ ปฏิบัติกำรเชิงนโยบำยข้อที่ 1 ออกกฎหมำยรับรองเพศสภำพ คนข้ามเพศหลายคนต้องเผชิญปัญหาในการใช้ชีวิตประจาวัน อันได้แก่ การสมัคร งาน การขอหนังสือเดินทาง หรือเอกสารราชการอื่น การเปิดบัญชีธนาคาร การเข้าถึงบริการทางสุขภาพหรือการ ประกัน และการเช่าหรือซื้อสินทรัพย์ ทั้งนี้เนื่องจากเอกสารระบุตัวตนของพวกเขาไม่สะท้อนถึงตัวตนที่แท้จริงของ พวกเขา และเพศสภาพที่พวกเขาเลือกก็ไม่ได้รับการยอมรับในทางกฎหมาย การรับรองอัตลักษณ์ทางเพศตาม กฎหมายเป็นการรับรองสถานภาพและให้การคุ้ มครองกับบุคคลเบื้องหน้ากฎหมาย มอบความสามารถในการ ดาเนินการสิ่งต่าง ๆ ในชีวิต การไม่มีกฎหมายรับรองเพศสภาพทาให้เ กิดการกีดกันทางสังคม การตีตรา การเลือก ปฏิบัติ และความรุนแรงในวงกว้าง ทาให้สังคมรับรู้คนข้ามเพศในฐานะที่มีความเบี่ยงเบนไปจากจารีตด้านเพศสภาพ เนื่องการอัตลักษณ์หรือการแสดงออกทางเพศไม่ตรงกับเพศที่ถูกกาหนดเมื่อแรกเกิด (UNDP and APTN 2017) การค้นพบจากการศึกษาครั้งนี้ยืนยันว่าศักดิ์ศรี ความเท่าเทียม ความเป็นส่วนตัว และความมั่นคงของคนข้ามเพศถูก ลดทอนอย่างรุนแรงเมื่ออัตลักษณ์และการแสดงออกทางเพศของพวกเขาไม่ได้รับการรองรับโดยกระบวนการทาง กฎหมายและการปกครอง การรั บ รองอั ต ลั ก ษณ์ ท างเพศของคนข้ า มเพศเป็ น ไปตามหลั ก การที่ ก ล่ า วไว้ ใ น พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ โดยเฉพาะมาตราที่ 3 ซึ่งให้นิยามคาว่า “การเลือกปฏิบัติ โดยไม่เป็น ธรรมระหว่างเพศ” โดยระบุว่าไม่จากัดเฉพาะชายหรือหญิง แต่รวมถึงคนที่มี “การแสดงออกที่แตกต่างจากเพศโดย 64 กาเนิด”1 กฎหมายรับรองเพศสภาพมีความสาคัญมากไปกว่าการเป็นกฎหมายทางการปกครอง แต่เป็นกฎหมายที่มี ความสาคัญต่อการมีส่วนร่วมทางสังคมของคนข้ามเพศ เพื่อที่จะมีชีวิตอย่างมีศักดิ์ศรี ได้รับความเคารพ ได้เป็นส่วน หนึ่งของสังคมอย่างเท่าเทียม (UNDP and APTN 2017) ตัวอย่ำงกำรปฏิบัติที่ให้ผลดี กฎหมำยรับรองอัตลักษณ์ทำงเพศของประเทศอำร์เจนตินำ กฎหมาย “Ley de Identidad de Género” (กฎหมายอัตลักษณ์ทางเพศสภาพ) ของประเทศอาร์เจนตินาเป็นตัวอย่าง กฎหมายการรับรองเพศสภาพที่ดีที่สอดคล้องกับหลักการสิทธิมนุษยชน กฎหมายผ่านในวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 และบังคับใช้ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2555 ได้รับการยอมรับว่าเป็นกฎหมายการรับรองอัตลักษณ์ทางเพศที่ดีที่สุดฉบับหนึ่ง ในโลก มีความก้าวหน้าและพิเศษ นาหลักการด้านสิทธิมนุษยชนมาใช้ ในการรับรองอัตลักษณ์ทางเพศ โดยสังเขป กฎหมายนี้ (ก) เคารพการยืนยันสิทธิในการกาหนดอนาคตตนเองของคนข้ามเพศ (ข) ไม่มีข้อเรียกร้องในการขอการ รับรองอัตลักษณ์ทางเพศ เช่น ต้องเป็นหมัน ทาการผ่าตัดแปลงเพศมาแล้ว หย่าร้าง หรือมีคาวินิจฉัยจากแพทย์ (ค) ปกป้องคนข้ามเพศไม่ให้ต้องเปิดเผยชื่อและเพศสภาพเดิม (ง) เปิดกว้างต่อทุกคน และ (จ) รวดเร็ว กระบวนการทางการ ปกครองใช้เวลาเพียงสองถึงสามอาทิตย์ก็เสร็จสิ้น นอกจากนี้ยังให้การประกันในเรื่องการเข้าถึงการดูแลสุขภาพของคน ข้ามเพศ ผ่านการให้การยินยอมของคนข้ามเพศเมื่อรับทราบข้อมูลอย่างครบถ้วน และการบริการทางการแพทย์รวมอยู่ใน แผนสุขภาพของชาติ จากสถิติทางการ มีผู้มาขอการรับรองอัตลักษณ์ 3,000 คนต่อปี แสดงถึงประสิทธิภาพของกลไกนี้ และยังไม่เคยพบการนากฎหมายนี้ไปใช้ในทางฉ้อฉล สิทธิที่จะได้รับการรับรองความเป็นบุคคลเบื้องหน้ากฎหมาย สิทธิในการกาหนดอนาคตตนเอง สิทธิเหนือเนื้อตัวร่างกาย และ สิทธิความเป็นส่วนตัว อยู่ภายใต้กฎบัตรและอนุสัญญาสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศที่มีพันธะผูกพันทางกฎหมายและได้รับ การให้สัตยาบัญจากหลากประเทศในเอเชีย2 หลักการยอร์กยาการ์ตาซึ่งตีพิมพ์ในปีพ.ศ. 2550 ได้สรุปการใช้มาตรฐานสิทธิ มนุษยชนสากลกับประเด็นที่เกี่ยวข้องกับวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศในเวลานั้น (ICJ 2007)3 หลักการข้อที่ 3 เน้นย้า สิทธิที่จะได้รับการรับรองความเป็นบุคคลเบื้องหน้ากฎหมาย กล่าวว่า “วิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศที่บุคคลนิยามด้วย ตนเอง เป็นส่วนที่สาคัญยิ่งในบุคลิกภาพของบุคคล และเป็นแง่มุมพืน้ ฐานที่สุดของสิทธิในการกาหนดอนาคตตนเอง ศักดิ์ศรี และเสรีภาพ” หลักการนีไ ้ ด้กล่าวถึงผลกระทบการกาหนดเกณฑ์หรือข้อเรียกร้องในกระบวนการที่ไปจากัดสิทธิของคนข้าม เพศในการได้รับการรับรองความเป็นบุคคลเบื้องหน้ากฎหมาย โดยระบุว่าไม่มีใครสมควรถูกบังคับให้ต้องผ่านกระบวนการ ทางแพทย์ รวมถึงการผ่าตัด การทาหมัน การใช้ฮอร์โมน เมื่อต้องการได้รับการรับรองอัตลักษณ์ทางเพศตามกฎหมาย 1 มาตรา 3 พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2558 2 ปฏิญญาสากลสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights -- UDHR) (1948) ม.6; กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิ พลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights -- ICCPR) (1966a) ม.16; อนุสัญญาว่า ด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ (Convention on the Elimination of All Forms of Discrimination Against Women -- CEDAW) (1979), ม.15; และ อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิคนพิการ (Convention on the Rights of Persons with Disabilities -- CRPD) (2007), ม.12 นอกจากนี้ มาตรา 8 ของอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก (Convention on the Rights of the Child -- CRC) (1989) กาหนดให้รัฐ “เคารพสิทธิของเด็กในการสงวนรักษาอัตลักษณ์แห่งตน” 3 ในปีพ.ศ. 2560 มีข้อเสนอให้ปรับปรุงหลักการยอร์กยาการ์ตาให้สะท้อนพัฒนาการเหล่านี้ รวมถึงการที่สิทธิมนุษยชนควรเข้าใจถึง วิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศให้กว้างขึ้น 65 นอกจากนี้ หลักการยังกล่าวอีกว่า “ไม่มีสถานภาพใด เช่น การสมรสหรือการเป็นบิดามารดา ที่บุคคลจะต้องกล่าวอ้างเพื่อให้ ได้รับการรับรองอัตลักษณ์ทางเพศ” (UNDP and USAID 2014) ปฏิบัติกำรเชิงนโยบำยข้อที่ 2 ออกกฎหมายคู่ชีวิตเพศเดียวกัน กฎหมายคู่ชีวิตเพศเดียวกันที่ดีจะอนุญาตและรับรองสถานภาพคู่ที่มั่นคงระหว่าง บุคคลสองคนบนฐานแห่งความเท่าเทียม โดยไม่คานึงถึงเพศ วิถีทางเพศ หรืออัตลักษณ์ทางเพศของบุคคล กฎหมาย ไทยอนุญาตการสมรสระหว่างชายและหญิงเท่านั้น คู่รักเพศเดียวกันไม่สามารถจดทะเบียนสมรสหรื อจดทะเบียนคู่ ได้ เมื่อไม่มีการคุ้มครองสถานภาพคู่ คู่เพศเดียวกันในประเทศไทยจึงไม่ได้รับสิทธิทางกฎหมายหลายประการเช่นที่ คู่สมรสพึงได้รับ และไม่สามารถดาเนินธุรกรรมทางกฎหมายแทนกันได้ในฐานะคู่สมรส (Preechasilpakul 2013; Sanders 2011) รวมไปถึงการจัดการทรัพย์สินร่วม ความสามารถในการใช้นามสกุลของคู่หรือการรับมรดก การ ลดหย่อนภาษี และการได้รับสวัสดิการ ค่าชดเชยสินไหมในกรณีหย่าร้าง และสิทธิประโยชน์จากการประกันสุขภาพ ส าหรั บ คู่ ส มรสที่ ไ ด้ รั บ จากนายจ้ า งหรื อ จากรั ฐ และไม่ ส ามารถกู้ ยื ม ร่ ว ม (UNDP and USAID 2014; Preechasilpakul 2013; Sanders 2011) คู่ของคนที่มีความหลากหลายทางเพศยังไม่สามารถรับอุปการะบุตรและ ไม่มีสิทธิการปกครองบุตรอีกด้วย (Suriyasarn 2014) ขั้นตอนแรกในการจัดการกับช่องว่างทางนโยบายนี้คือการแก้ไขกฎหมายประมวลแพ่งและพาณิชย์และกฎหมาย ครอบครัวและการสมรสเพื่อให้รับรองความสัมพันธ์และครอบครัวของคู่เพศเดียวกัน และอนุญาตให้คู่เพศเดียวกัน จดทะเบียนสมรสหรือเป็นคู่ชีวิต องค์ประกอบของกฎหมำยคู่ชีวิตเพศเดียวกันหรือกฎหมำยคู่ชีวิตที่มีประสิทธิภำพ มีประเทศ 26 ประเทศทั่วโลก รวมทั้งประเทศในเขตเอเชียแปซิฟิกที่ให้การรับรองการสมรสของคู่เพศเดียวกันตามกฎหมาย ซึ่งรวมถึงประเทศที่มีรายได้ร ะดับปานกลาง เช่น อาร์เจนตินา บราซิล และโคลั มเบีย อีก 15 ประเทศให้การรับรองการ เป็นคู่ชีวิตของคู่เพศเดียวกัน กฎหมายคู่ชีวิตเพศเดียวกันหรือกฎหมายคู่ชีวิตที่มีประสิทธิภาพในประเทศไทยอาจจะ ประกอบด้วยสิทธิหน้าที่ที่มาพร้อมกับสัญญาการสมรส ซึ่งอย่างน้อยที่สุดควรประกอบด้วย • การแบ่งปันสิทธิและหน้าที่ในการเลี้ยงดูและสนับสนุนบุตร • ความสามารถในการเป็นผูด ้ ูแลบุตรตามกฎหมายเมื่อผู้ปกครองอีกคนหนึ่งเสียชีวิต • การมีทรัพย์สินและอสังหาริมทรัพย์ร่วม • ความสามารถของคู่ในการรับมรดกอสังหาริมทรัพย์ และสิทธิที่จะได้รับประโยชน์จากประกันสังคมและภาษีอากร • ความสามารถของคู่ในการรับประโยชน์จากสถานที่ทางานเช่นเดียวกับคู่สมรสต่างเพศ • สิทธิของคู่ในการให้การตัดสินใจทางการแพทย์เช่นเดียวกับคูส่ มรสต่างเพศ ปฏิบัติกำรเชิงนโยบำยข้อที่ 3 ผนวกรวมวิถีทำงเพศและอัตลักษณ์ทำงเพศไว้ในพระรำชบัญญัติควำมเท่ำเทียมระหว่ำงเพศ พ.ศ. 2558 และใน กำรส่งเสริมควำมเท่ำเทียมทำงเพศสภำพในแผนและนโยบำยโดยทั่วไปของชำติให้สมบูรณ์และทั่วถึง 66 อุปสรรคหนึ่งในการผนวกประเด็นซึ่งอาจจะสามารถตัดทิ้งไปคือ ข้อความในมาตรา 17 ในพระราชบัญญัติความเท่า เทียมระหว่างเพศ การเลือกปฏิบัติไม่ถือเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม หากทาเพื่อ “ขจัดอุปสรรคหรือ ส่ งเสริ มให้บุ คคลสามารถใช้ สิท ธิ และเสรีภาพได้เช่ น เดี ยวกับ บุค คลอื่น หรื อ เพื่ อ คุ้ มครองสวั สดิภ าพและความ ปลอดภัย หรือการปฏิบัติตามหลักการ ทางศาสนา หรือเพื่อความมั่นคงของประเทศ” (Human Rights Watch 2015) สิ่งที่สามารถปรับปรุงอีกจุดหนึ่งคือมาตรา 3 โดยการเพิ่มข้อความที่ห้ามการเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งวิถีทาง เพศและอัตลักษณ์ทางเพศ ปฏิบัติกำรเชิงนโยบำยข้อที่ 4 ระบุการผนวกรวมหญิงรักหญิง ผู้หญิงไบเซ็กชวล และผู้หญิงข้ามเพศอย่างชัดเจน ไว้ในแผนการส่งเสริมความเท่า เทียมทางเพศสภาพ สิทธิสตรี การพัฒนาศักยภาพของผู้หญิง และการป้องกันความรุนแรงต่อสตรีและเด็กหญิง สร้างความเข้มแข็งและบังคับใช้กฎหมายขจัดความรุนแรงทางเพศทุกรูปแบบ รวมถึงต่อหญิงรักหญิง ชายรักชาย ไบ เซ็กชวล คนข้ามเพศ และบุคคลที่มีเพศกากวม หรือคนที่มีความแตกต่างทางด้านวิถีทางเพศหรือ อัตลักษณ์ทางเพศ เพื่อแก้ปัญหาการเลือกปฏิบัติต่อหญิงรักหญิงและผู้หญิงไบเซ็กชวลในระดับที่มากขึ้นไป การเปลี่ยนแปลงด้าน นโยบายควรมุ่งเน้นการทางานกับกฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับความเท่าเทียมทางเพศระหว่างชายและหญิ ง ซึ่งสอดคล้องกับหลักการของพระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ นอกจากนี้ การนาไปปฏิบัติควรรวมถึง องค์ประกอบที่ระบุการเลือกปฏิบัติด้วยเหตุของวิถีทางเพศ ความกังวลอย่างยิ่งของคนข้ามเพศในผลการสารวจคือ การไม่มีบัตรประชาชนหรือเอกสารอื่นใดที่สะท้อนถึงการแสดงออกและรูปลักษณ์ตามเพศสภาพที่ตนเองเป็นใน ปัจจุบัน ประเทศไทยสามารถเรียนรู้จากความเปลี่ยนแปลงทางกฎหมายและนโยบายจากนานาชาติในการจัดการ กับปัญหานี้อย่างเป็นผล เพศสภำพในเอกสำรรำชกำร ในสหรัฐอเมริกา คนข้ามเพศจานวนเกือบสองในสามกล่าวว่าพวกเขาถูกคุกคาม ทาร้าย หรือปฏิเสธการให้บริการ เนื่องจาก เอกสารระบุตัวตนไม่ตรงกับ “เพศสภาพที่แสดงออก” (James et al. 2016) ทุกวันนี้รัฐบาลอเมริกาเริ่มรับรองอัตลักษณ์ ของคนข้ามเพศและเพศสภาพแบบนอนไบนารี่ คือไม่ได้ระบุว่าเป็นเพศชายหรือเพศหญิง เขตปกครองพิเศษโคลัมเบียเริ่ม ให้ทางเลือกในการระบุเพศตนเองแบบกลาง ๆ โดยใช้สัญลักษณ์ “X” ในใบขับขี่และในบัตรประจาตัวประชาชนในปีพ.ศ. 2560 ตามด้วยมลรัฐโอเรกอน จากนั้น สมาชิกสภาของมลรัฐแคลิฟอร์เนียได้ผ่านกฎหมายลักษณะเดียวกันนี้ และตามด้วย นิวยอร์ก ด้ำนที่ควรให้ควำมสำคัญที่ 6 การวิจัยเพื่อเติมเต็มช่องว่ำงทำงควำมรู้ ประเทศไทยยังคงมีช่องว่างที่สาคัญด้านความรู้และข้อมูลเกี่ยวกับประชากรคนที่มีความหลากหลายทางเพศ โดยเฉพาะในแบบ สารวจประชากรของชาติ สาคัญอย่างยิ่งที่จะพัฒนาและใช้แบบสารวจหรือโมดูลสาหรับประชากรทั้งคนที่มีความหลากหลาย ทางเพศและคนที่ไม่ใช่กลุ่มที่มีความหลากหลายทางเพศ เพื่อพัฒนาข้อมูลและรับทราบผลลัพธ์ในประเด็นต่างๆ รวมถึงเพื่อให้ เปรียบเทียบข้อมูลได้ นอกจากนี้ สามารถทาการวิจัยเพื่อสารวจนโยบายและโครงการเกี่ยวกับความรุนแรงด้วยเหตุแห่งวิถีทาง เพศและอัตลักษณ์ทางเพศในภาคการศึกษา มีข้อเสนอปฏิบัติการเชิงนโยบายด้วยกันในด้านการวิจัยเจ็ดข้อ 67 ปฏิบัติกำรเชิงนโยบำยข้อที่ 1 เก็บข้อมูลที่แยกประชำกรตำมวิถีทำงเพศและอัตลักษณ์ทำงเพศในภำคส่วนสำคัญ มีความจาเป็นต้องสารวจ แง่มุมต่าง ๆ ที่ทาให้เกิดการกีดกันประชากรคนที่มีความหลากหลายทางเพศในภาคส่วนสาคัญ โดยเฉพาะใน ตลาดแรงงาน ผลของการถูกปฏิเสธซ้า ๆ สภาพแวดล้อมการทางานที่ไม่เป็นมิตร การจากัดเสรีภาพทางเพศสภาพ ในที่ทางาน หรือการจากัดโอกาสความก้าวหน้าในงาน อาจทาให้คนที่มีความหลากหลายทางเพศเข้าสู้ตลาดแรงงาน ช้า หรือไม่ทางานในระบบ ข้อมูลนี้จะมีคุณค่าอย่างมากหากมุ่งเน้นการสารวจสถานการณ์ของประชากรคนที่มีความ หลากหลายทางเพศที่มีอัตลักษณ์ที่ถูกทาให้เกิดความเสียเปรียบทางเศรษฐกิจหรือสังคมมากกว่าหนึ่งประการ ประกอบกัน เช่น สถานภาพทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ชาติพันธุ์ ชนชั้น และถิ่นที่อยู่อาศัย ปฏิบัติกำรเชิงนโยบำยข้อที่ 2 พัฒนำฐำนข้อมูลที่รวมกรณีและข้อมูลกำรกีดกันคนที่มีควำมหลำกหลำยทำงเพศจำกองค์กรรัฐและองค์กร ประชำสังคมที่เกี่ยวข้อง ประเทศไทยมีงานวิจัยที่เก็บรวบรวมหลักฐานเกี่ยวกับการกีดกันคนที่มีความหลากหลาย ทางเพศจ านวนมาก แต่ ยั งคงมีก ารรวบรวมที่จ ากั ดเมื่อ เที ยบกับ งานด้านอื่ น ๆ การสร้างฐาน ข้อ มูลที่มีความ ครอบคลุมจะนาไปสู่การค้นพบวิสัยทัศน์ใหม่ ๆ และการส่งเสริมการสื่อสารข้อมูลและการวิเคราะห์ที่มีความซับซ้อน และมีหลายมิติ เป็นภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ สร้างการวิเคราะห์ใหม่ และปฏิบัติการของรัฐบาล สถาบัน องค์กร และหน่วยงานอื่น ๆ ทิศทางข้างหน้าควรจะสร้างแหล่งเชื่อมต่อข้อมูล ที่จะรับข้อมูลด้านความหลากหลาย ทางเพศมาไว้รวมกันที่จุดเดียว เพื่อให้ง่ายต่อการเข้าถึง และกระจายข้อมูล ซึ่งจะเพิ่มคุณค่าของงานวิจัย แหล่งรวม ข้อมูลนี้ควรจะสร้างต่อยอดจากโมเดลที่มีอยู่แล้ว เช่นจากกลุ่มธนาคารโลกและองค์กรเพื่อความร่ว มมือและการ พัฒนาเศรษฐกิจ แหล่งเชื่อมต่อข้อมูล แหล่งเชื่อมต่อข้อมูลด้านเพศสภาพ (Gender Data Portal) เป็นแหล่งข้อมูลที่พัฒนาขึ้นโดยธนาคารโลก รวบรวมสถิติแบบ แยกเพศและเพศสภาพ มีความครอบคลุมถึงด้านประชากรศาสตร์ การศึกษา สุขภาพ การเข้าถึงโอกาสทางเศรษฐกิจ ชีวิต ทางสังคม และการตัดสินใจ และหน่วยงาน แหล่งเชื่อมต่อข้อมูลด้านเพศสภาพขององค์กรเพื่อความร่วมมือและการพัฒนา เศรษฐกิจรวมรวมตัวชี้วัดบางส่วนที่สามารถใช้ได้ผลดีกับการตรวจวัดความไม่เท่าเทียมในด้านทางศึกษา การจ้างงาน การ ประกอบการ การปกครอง สุขภาพ และการพัฒนา แหล่งเชื่อมต่อนี้ยังแสดงความก้าวหน้าในการสร้างความเท่าเทียมทาง เพศภาพและจุดที่ควรมีปฏิบต ่ ุดอีกด้วย ั ิการเพื่อการแก้ไขปัญหามากทีส ปฏิบัติกำรเชิงนโยบำยข้อที่ 3 เพิ่มหมวดวิถีทำงเพศและอัตลักษณ์ทำงเพศไว้ในกำรสำรวจของชำติและข้อมูลทะเบียนจำกกระทรวงต่ำง ๆ แม้ว่าหลักฐานจะชี้ว่ามีการเลือกปฏิบัติ การตีตรา การกีดกันทางสังคม และความรุนแรงต่อคนที่มีความหลากหลาย ทางเพศในประเทศไทย ก็ยังคงมีความจาเป็นที่จะต้องเก็บข้อมูลเชิงปริมาณเพิ่มเติมโดยแยกตามสถานภาพทาง วิถีทางเพศและอัตลักษณ์ ทางเพศ ทาได้โดยเพิ่มการเก็บข้อมูลส่วนเพศวิถีและอัตลักษณ์ทางเพศเข้าไว้ในแบบ สารวจของชาติและข้อมูลทะเบียนจากกระทรวงต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น สาธารณสุข การศึกษา แรงงาน และการ พัฒนาสังคม อาจจะพัฒนาฐานข้อมูลที่ติดตามการมีส่วนร่วมของคนที่มีความหลากหลายทางเพศ ซึ่งรวมข้อมูลและ กรณีจากหน่วยงานของรัฐและองค์กรประชาสังคม หากทาไม่ได้ สามารถใช้การสารวจออนไลน์ที่มีอยู่ เช่น การ 68 สารวจสุขภาพนักเรียนในโรงเรียนระดับโลก และการสารวจคลัสเตอร์ตัวชี้วัดแบบหลายแง่มุม โดยปรับรูปแบบให้ เหมาะกับบริบทของไทย ซึ่งจะประหยัดงบประมาณ การเก็บข้อมูลสามารถทาผ่านมหาวิทยาลัย เพื่อนร่วมงาน และ โรงเรียนระดับปฐมภูมิและทุติยภูมิ ตัวอย่างเช่น ใช้รายงานจากโรงเรียน สถาบันวิชาการ และสถาบันวิจัย ที่มีการ ทาขึ้นในหลายประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกและในโลก มีส่วนร่วมของคนที่มีควำมหลำกหลำยทำงเพศในกำรสำรวจของชำติ เมื่อปีพ.ศ. 2546 ประเทศแคนาดาเริ่มสารวจสุขภาพชุมชนโดยรวมคาถามเกี่ยวกับอัตลักษณ์ทางเพศไว้ด้วย และทา เช่นเดียวกันกับการสารวจการถูกทาให้เป็นเหยื่อในการสารวจทางสังคมทั่วไปในปีพ.ศ. 2547 (Beauchamp 2004) และ รวมข้อมูลของคู่เพศเดียวกันไว้ในข้อมูลสามะโนประชากร (Statistics Canada 2006a,b) การสารวจข้อมูลด้านสุขภาพ วัยรุ่นของสถาบันบริติชโคลัมเบียมีข้อมูลวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศในปีพ.ศ. 2545 ในประเทศอินเดีย ข้อมูลสามะโนประชากรแห่งชาติของอินเดียปีพ.ศ. 2556 เปิดโอกาสให้ผู้ตอบแบบสารวจเลือกช่องระบุ เพศได้มากกว่าชายหรือหญิง กรรมการสามะโนประชากรยังไม่เปิดเผยข้อมูล ในประเทศไอร์แลนด์ สานักงานสถิติกลางมีการเก็บข้อมูลคู่เพศเดียวกัน (Central Statistics Office 2012) การสารวจสาธารณสุขแห่งชาติสวีเดนแยกข้อมูลเป็น คนข้ามเพศ การเป็นรักต่างเพศที่มีแง่มุมของการรักเพศเดียวกันอยู่ บ้าง การรักได้ ทั้งสองเพศ (ไบเซ็กชวล ) การเป็นคนที่รักเพศเดียวกันโดยมีแง่มุมของการรักต่างเพศอยู่บ้าง (Ramsay undated) หมายเหตุ: ่ วกับการสารวจสุขภาพชุมชนของประเทศแคนาดา ดูได้ที่ ข้อมูลเพิ่มเติมเกีย http://www23.statcan.gc.ca/imdb/p2SV.pl?Function=getSurvey&SDDS=3226 ข้อมูลการสารวจด้านสุขภาพ วัยรุ่นของสถาบันบริติชโคลัมเบียดูได้จากเว็บไซต์ของ McCreary Centre Society (www.mcs.bc.ca/ahs) แบบฟอร์ม สามะโนประชากรของประเทศอินเดีย (2011) ดูได้ที่ http://censusindia.gov.in/2011- Schedule/Shedules/English_Household_schedule.pdf กำรปฏิบัติกำรเชิงนโยบำยข้อที่ 4 วิเครำะห์กำรปฏิบัติที่ให้ผลดีในกำรป้องกันและแก้ปัญหำกำรเลือกปฏิบัติและควำมรุนแรงด้วยเหตุแห่งวิถีทำง เพศและอัตลักษณ์ทำงเพศ โดยเฉพำะในโรงเรียนไทย เพื่อสร้ำงให้เกิดสังคมที่ทุกคนสำมำรถมีส่วนร่วม อาจจะ มุ่ งเน้ น ที่ จ ากการหารู ป แบบการปฏิ บั ติ ที่ ใ ห้ ผ ลดี ใ นการป้ อ งกั น และแก้ ปั ญ หาการเลื อ กปฏิ บั ติ ต่ อ คนที่ มี ค วาม หลากหลายทางเพศ และส่งเสริมความเท่าเทียมทางเพศในเชิงกว้าง เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมของคนที่มีความ หลากหลายทางเพศได้อย่างเต็มที่ในทางปฏิบัติ ควรมุ่งเน้นการเฟ้นหาและวิเคราะห์การป้องกันและแก้ปัญหาความ รุนแรงที่มีเหตุมากจากวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศในโรงเรียนไทย เพื่อให้เกิดการศึกษาที่นักเรียนทุกคนมีส่วน ร่วม จาเป็นต้องศึกษาเพื่อแสวงหารากของการเลือกปฏิบัติ และครอบคลุมความสัมพันธ์ระหว่างบรรทัดฐานใน สังคมกับการตีตรา ซึ่งถูกนามาใช้สร้างความชอบธรรมให้กับการเลือกปฏิบัติในการเข้าถึ งตลาด บริการ และพื้นที่ ทางสังคมต่าง ๆ 69 ปฏิบัติกำรเชิงนโยบำยข้อที่ 5 ประเมินนโยบำยและโครงกำรด้ำนวิถีทำงเพศและอัตลักษณ์ทำงเพศในประเทศไทยอย่ำงหลำกหลำย การ ประเมินนโยบายและโครงการอย่างเข้มแข็งมีความสาคัญ ทาให้ทราบว่าปฏิบัติการแบบใดให้ผลดี และควรขยายผล ในประเทศไทย ทาความเข้าใจปัจจัยที่ส่งผลต่อการเกิดสังคมที่ทุกคนมีส่วนร่วมและได้ประโยชน์ ทั้งในระดับบุคคล ระบบ และสังคม ควรมีงานวิจัยเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมทางสังคมเพิ่มขึ้น โดยงานวิจัยเหล่านี้ควรนาผลการประเมิน และติดตามผลโครงการที่ได้รับการออกแบบมาอย่างดี ทาอย่างเต็มรูปแบบและครบถ้วนมาใช้ จะทาให้โครงการ พัฒนาให้ผลลัพธ์ที่ดีขึ้น และทาให้ปฏิบัติการมีความยั่งยืนทั้งในระดับประเทศและเหนือขึ้นไป ความร่วมมือระหว่าง ภาครัฐ นักวิชาการ และองค์กรพัฒนาเอกชน รวมถึงองค์กรคนที่มีความหลากหลายทางเพศจะเป็นหลักประกันถึง คุณภาพของงานวิจัย การประเมินควรทาอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ ข้อมูลที่ได้จากการประเมินควรนามาใช้ในการ ปรับปรุงนโยบายและโครงการ ปฏิบัติกำรเชิงนโยบำยข้อที่ 6 เก็บข้อมูลรำยงำนควำมรุนแรงต่อคนที่มีควำมหลำกหลำยทำงเพศอย่ำงเป็นระบบ ผลการสารวจชี้ว่าผู้ตอบแบบ สารวจที่เป็นคนที่มีความหลากหลายทางเพศจานวนมากอย่างน่าตกใจมีประสบการณ์การถูกเลือกปฏิบัติหรือการถูก กระทาความรุนแรงจากครอบครัวและเพื่อน เมื่อเปรียบเทียบกับการที่ผู้ก ระทาเป็นหน่วยงานที่มีความรับผิดชอบ ของภาครัฐ และมากกว่าครึ่งของคนที่มีความหลากหลายทางเพศที่ตอบแบบสารวจรายงานว่ าระบายหรือปรึกษา ผ่านทางโซเชียลมี เดีย แม้ว่าคนที่มีความหลากหลายทางเพศจะได้รับการปกป้องทางกฎหมายที่ห้ามไม่ให้เลือก ปฏิบัติในประเทศไทยไม่มากก็น้อย แต่มีการเก็บข้อมูลการรายงานความรุนแรงด้วยเหตุแห่งวิถีทางเพศและอัต ลักษณ์ทางเพศอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องน้อยมาก ตัวอย่างการเก็บข้อมูลมีในองค์กรพัฒนาเอกชน หน่วยงาน เกี่ยวกับความเท่าเทียม นักวิชาการหรือนักวิจัยนโยบาย ควรเพิ่มการเก็บข้อมูลจากทะเบียนข้อร้องเรียนผ่าน ช่องทางทางกฎหมายหรือหน่วยงานเกี่ยวกับความเท่าเทียม เช่น คณะกรรมการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ปฏิบัติกำรเชิงนโยบำยข้อที่ 7 ให้กำรสนับสนุนกำรวิจัยเพื่อประเมินมูลค่ำทำงเศรษฐกิจและตัวเงินที่สังคมต้องเสียไปจำกกำรกีดกันและกำรที่ คนที่มีควำมหลำกหลำยทำงเพศถูกทำให้เสียโอกำสและแสดงประโยชน์ที่สังคมจะได้รับเมื่อทำให้เกิดกำรมีส่วน ร่วมของคนที่มีควำมหลำกหลำยทำงเพศ มีงานวิจัยจานวนเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ รวมทั้งที่ทาในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกชี้ว่า ความรุนแรงด้วยเหตุแห่งวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศ (World Bank Group 2013; Badgett 2014) การกีดกันคนที่มีความหลากหลายทางเพศในประเทศอินเดียส่งผลกระทบอย่างมาก ต่อเศรษฐกิจ เนื่องจากการเลือกปฏิบัติในการจ้างงานและการเสียผลิตผลอันเนื่องมาจากความไม่เท่าเทียมทางด้าน สุขภาพทาให้ความสามารถในการผลิตต่าลง งานวิจัยที่ประเมินราคาที่ต้องจ่ายและความเสียเปรียบในทางเศรษฐกิจ ที่เกิดจากการกีดกันเป็นข้อมูลที่มีประโยชน์สาหรับผู้ตัดสินใจเชิงนโยบาย 70 Reference ABS (Australian Bureau of Statistics). 2011. Same Sex Couple Families: Reflecting a Nation 2011. Canberra, Australia: ABS. http://www.abs.gov.au/ausstats/abs@.nsf/Lookup/2071.0main+features852012-2013. Badgett, M.V. Lee. 2014. The Economic Cost of Stigma and the Exclusion of LGBT People: A Case Study of India. Washington, DC: World Bank Group. Beauchamp, D. 2004. Sexual Orientation and Victimization 2004. Ottawa, Canada: Statistics Canada. http://www.statcan.gc.ca/pub/85f0033m/85f0033m2008016-eng.htm BDS (Blue Diamond Society). 2013. BDS Toolkit Working with Schools 1.0 Tools for School Consultants, Principals, Teachers, Students and Parents to Integrate 75 Adequate Attention of Lesbian, Gay, Bisexual, and Transgender Topics in Curricula and School Policies,” BDS, Kathmandu, Nepal. –––. 2015. Final Project Report for the World Bank: BDS Teacher Training. Kathmandu, Nepal: BDS. British Columbia’s Adolescent Health Survey. McCreary Centre Society. Retrieved from http://www.mcs.bc.ca/ahs. Central Statistics Office. 2012. Profile 5: Households and Families. Dublin, Ireland: Government of Ireland. Census 2011 Profile 5 Households and Families - Living Arrangements in Ireland - CSO - Central Statistics Office Farrington, D.P., and M.M. Ttofi. 2009. School-Based Programs to Reduce Bullying and Victimization. Campbell Systematic Reviews 2009:6. Gurung, P. 2015. “Blue Diamond Society Teacher Training Programme on SOGI.” Poster presented at the Asia-Pacific Consultation on School Bullying on the Basis of Sexual Orientation and Gender Identity, organized by UNESCO and UNDP, June 15-17, 2015, Bangkok, Thailand. Hawkins , D.L., D.J. Pepler, and W.M. Craig. 2001. “Naturalistic Observations of Peer Interventions in Bullying.” Social Development 10: 512–527. Human Rights Watch. 2015. Thailand Gender Equality Act. Retrieved from: http://www.ilo.org/dyn/natlex/docs/ELECTRONIC/100442/120478/F764760666/THA100442%20Eng.pdf. India’s Census form. 2011. Available at: http://www.Censusindia.gov.in/2011- Schedule/Schedules/English_Household_schedule.pdf. ICJ (International Commission of Jurists). 2007. Yogyakarta Principles: Principles on the Application of International Human Rights Law in Relation to Sexual Orientation and Gender Identity. [Accessed 11 January 2018.] Available at: http://www.refworld.org/docid/48244e602.html Jimerson, S., and N. Huai. 2010. “International Perspectives on Bullying Prevention and In Intervention.” In Handbook of Bullying in Schools: An International Perspective, edited by S. Jimerson, S. Swearer, and D. 71 Espelage, 571-592. New York: Routledge. Jones, T.M., and L. Hillier 2012. “Sexuality Education School Policy for Australian GLBTIQ Students.” Sex Education 12 (4): 437-454. Kosciw, Joseph .G., Emily A. Greytak, Mark J. Bartkiewicz, Madelyn J. Boesen, and Neal A. Palmer. 2012. The 2011 National School Climate Survey: The Experiences of Lesbian, Gay, Bisexual, and Transgender Youth in Our Nation’s Schools. New York: Gay, Lesbian and Straight Education Network. 76 Mahidol University, Plan International Thailand, and UNESCO (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization). 2014. Bullying Targeting Secondary School Students Who Are or Are Perceived To Be Transgender or Same-Sex Attracted: Types, Prevalence, Impact, Motivation, and Preventive Measures in Five Provinces of Thailand. Bangkok, Thailand: UNESCO Bangkok Office. (Mahidol University, Plan International Thailand, and UNESCO 2014) Mehmood N. 2014. “Chetana Trainers Pool.” Internet: LGBT Education. http://www.lgbt- education.info/en/news/local_news/news?id=738. Gaylaxy. 2014. “School Children in Nepal to Learn about Sexuality and Gender Diversity.” http://www.gaylaxymag.com/articles/world/school-children-in-nepal-to-learn-about-sexuality-and-gender- diversity/#gs.WX2D6=M. James, S. E., J. L. Herman, S. Rankin, M. Keisling, L. Mottet, and M. Anafi. 2016. The Report of the 2015 U.S. Transgender Survey. Washington, DC: National Center for Transgender Equality. Ollis, D. 2013. “Planning and Delivering Interventions to Promote Gender and Sexuality.” In Bullying: Experiences and Discourses of Sexuality and Gender, edited by I. Rivers and N. Duncan. London: Routledge. Plog, A., L. Epstein, K. Jens, and W. Porter. 2010. “Sustainability of Bullying Intervention and Prevention Programmes.” In Handbook of Bullying in Schools: An International Perspective, edited by S. Jimerson, S. Swearer, and D. Espelage, 559-569. New York: Routledge. Preechasilpakul, Somchai. [สมชาก _ปรีชาศิลปกุล]. 2013. บุคคลเพศหลากหลายในระบบกฎหมาย _[Sexual diversity in the legal system.] Bangkok, Thailand: Foundation for SOGI Rights and Justice; Chiang Mai University; Teeranat Kanjanaauksorn Foundation; Thai Health Promotion Foundation. Ramsay, R. Undated. Lesbian and Bisexual People High “Attempted Suicide” Incidences, Suicidality Studies, Europe. Calgary, Canada: University of Calgary. Accessed January 10, 2018. http://people.ucalgary.ca/~ramsay/gay-lesbian-bisexual-suicide-studies-europe.htm. Sanders, D. 2011. “The Rainbow Lobby: The Sexual Diversity Network and the Military-Installed Government in Thailand.” In Queer Bangkok: 21st Century Markets, Media, and Rights, edited by P.A. Jackson, 229–250. Chiang Mai, Thailand: Silkworm Books. Scheckner, S., S.A. Rollin, C. Kaiser-Ulrey, and R. Wagner. 2002. “School Violence in Children and 72 Adolescents: A Meta-Analysis of the Effectiveness of Current Interventions.” Journal of School Violence 1 (2): 5–32. 77 Smith, J.D., B. Schneider, P.K. Smith, and K. Ananiadou. 2004. “The Effectiveness of Whole-School Anti- Bullying Programs: A Synthesis of Evaluation Research.” School Psychology Review 33: 548–561. Statistics Canada. Canadian Community Health Survey. Retrieved from: http://www.statcan.gc.ca/concepts/health-sante/cycle2_1/index-eng.htm. Statistics Canada. 2006a. Family Portrait: Continuity and Change in Canadian Families and Households in 2006. Ottawa, Canada: Statistics Canada. –––. 2006b. National Portrait: Census Families Same-Sex Married Couples Counted for the First Time. Ottawa, Canada: Statistics Canada. http:// www12.statcan.ca/census-recensement/2006/as-sa/97-553/p4- eng.cfm. Suriyasarn, B. 2014. Gender Identity and Sexual Orientation in Thailand: Promoting Rights, Diversity and Equality in the World of Work (PRIDE) Project. Bangkok: ILO (International Labour Organization) Country Office for Thailand. Thailand Gender Equality Act, https://www.hrw.org/news/2015/09/21/thailand-gender-equality-act. UNCTAD (United Nations Conference on Trade and Development). 2016. “Monitoring of Compliance and Enforcement for High-Quality Corporate Reporting: Guidance on Good Practices.” Discussion Paper. http://unctad.org/en/PublicationsLibrary/webdiaeed2016d2_en.pdf. UNDP (United Nations Development Programme) and APTN (Asia Pacific Transgender Network). 2017. Legal Gender Recognition: A Multi-Country Legal and Policy Review in Asia. Bangkok, Thailand: UNDP. UNDP and USAID (U.S. Agency for International Development). 2014. Being LGBT in Asia: Thailand Country Report. Bangkok, Thailand: UNDP. UNESCO and Plan International Thailand. 2015. “Respect for All in Safe and Gender-Responsive Learning Environments in Thailand.” Poster presented at the Asia-Pacific Consultation on School Bullying on the Basis of Sexual Orientation and Gender Identity, organized by UNESCO and UNDP, June 15-17, 2015, Bangkok, Thailand. UNESCO (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization). 2015. From Insult to Inclusion: Asia-Pacific report on school bullying, violence and discrimination on the basis of sexual orientation and gender identity. Bangkok: UNESCO. 73 –––. 2017. A Guide for Ensuring Inclusion and Equity in Education. Retrieved from: http://unesdoc.unesco.org/images/0024/002482/248254e.pdf. 78 World Bank Group. 2013. Inclusion Matters: The Foundation for Shared Prosperity. Washington, DC: World Bank Group. 74 ภำคผนวก ก. กำรพัฒนำ กำรทดสอบ และกำรกระจำยแบบสอบถำมออนไลน์ การหาผู้เข้าร่วมตอบแบบสารวจที่ไม่ได้นิยามตนเองว่าเป็นหญิงรักหญิง ชายรักชาย ไบเซ็กชวล คนข้ามเพศ หรือ คนเพศ กากวม (LGBTI) ในประเทศไทยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างเชิงพลวัตร (dynamic sampling) ที่อาศัยแรงจูงใจ ใช้แบบสารวจ ออนไลน์เพื่อให้เข้าถึงผู้ตอบที่เป็นบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศจานวนมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ผ่านการสุ่มตัวอย่างโดย ไม่ใช้ความน่าจะเป็น (nonprobability sampling) ผู้ตอบที่เป็นบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ นิยามตนเองและเข้าตอบ แบบสอบถามผ่านนวัตกรรมแพลตฟอร์มโซเชียลมีเดีย ในการพัฒนาและทดสอบแบบสารวจสาหรับ บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ และกลุ่มที่ไม่ใช่บุคคลที่มีความหลากหลาย ทางเพศ ใช้การสร้างความร่วมมือกับองค์กรความหลากหลายทางเพศท้องถิ่นในเมืองสี่เมือง คือ กรุงเทพ เชียงใหม่ พัทยา และ ภูเก็ต จากนั้น นาแบบสารวจทั้งสองชุดมาทดสอบผ่านการมาพบกันและปรึกษาหารือและการอภิปรายกลุ่ม เพื่อให้สามารถ มั่นใจว่าแบบสารวจสามารถนาไปใช้ได้จริง ตรงกับสภาพปัญหาและบริบททางวัฒนธรรม พอเพียง และส่วนหน้าจอของผู้ใช้มี ความเหมาะสม แบบสอบถามทั้งสองชุดได้รับการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะที่รวบรวมได้เป็น ชุดสุดท้าย และอัพโหลดไปยัง แพล็ทฟอร์มออนไลน์เพื่อทดสอบภายในสาหรับการใช้งาน ลิ้งค์ไปยังแบบสารวจออนไลน์ถูกแชร์ไปยังองค์กรหรือกลุ่มความร่วมมือมากกว่า 50 แห่ง พร้อมทั้งอีเมล์ภาษาไทยอธิบาย โครงการ และคิวอาร์โค้ด (QR Code)1 เฟสบุ๊คทัมบ์เนล และใบปลิวที่สามารถนาไปใช้ในการกระจายข่าวได้ มีการใช้แรงจูงใจ ด้วยการ “จับรางวัล” เพื่อประกันให้มีการตอบแบบสารวจมากเพียงพอ ในการเชื่อมต่อกับแฟนเพจและผู้ที่มีอิทธิพลในชุมชน บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศมีการสร้างกลุ่มเฟสบุคแอดมิน เฟสบุคส่วนตั วขึ้นเพื่อเพิ่มอัตราการตอบแบบสอบถาม นอกจากนี้ มีการทาคลิป รูปภาพ และรูป GIF เป็นซีรี่ย์ส์เพื่อสร้างการตลาดให้กับแบบสอบถามไปยังกลุ่ม บุคคลที่มีความ หลากหลายทางเพศ กลุ่มตัวอย่างที่ไม่ใช่ บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศถูกเลือกผ่านการสุ่มตัวอย่างแบบพลวัตรและใช้แรงจูงใจ โดยใช้ โปรแกรมการซื้อมีเดีย ซึ่งก็คือการให้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เลือกซื้อโฆษณาที่เกี่ยวข้อง เจาะจงไปยังกลุ่มเป้าหมาย เผยแพร่ แบบสารวจไปยังเว็บไซต์ที่แตกต่างกัน แบบสารวจถูกกระจายไปยังเว็บไซต์ที่มีชื่อเสียงมากที่ สุดในประเทศไทย เพื่อให้เกิด การตอบแบบสอบถามมากขึ้น มีการกระจายแบบสารวจทั้งสองชุดบนสื่อโซเชียลมีเดีย รวมทั้งเฟสบุคเพจของธนาคารโลกใน ประเทศไทย รำยละเอียดของกำรศึกษำ ข้อเสนอการศึกษาถูกส่งไปประเมินจริยธรรมการวิจัยกับคณะกรรมการด้านจริยธรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หลังจาก ได้รับข้อคิดเห็นและคาถามจากคณะกรรมการ ข้อเสนอการวิจัยได้รับการเห็นชอบในวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 ทีม ธนาคารโลกได้เข้าไปปรึกษาหารือกับผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัย เพื่อให้แบบสอบถามออนไลน์มีความปลอดภัยด้าน 1 QR Code คือรูปแบบของบาร์โค้ดแบบตาราง สามารถใช้เครื่องอ่านโค้ดอ่าน จะมีข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งดังกล่าวปรากฎขึ้น 75 ดิจิตอลโดยเป็นไปตามแบบปฏิบัติที่ดีที่สุด นอกจากนี้ ทีมได้ทาการศึกษาข้อมูลจากงานวิจัยวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทั่วโลก (เช่น งานวิจัยการใช้เครื่องมือออนไลน์วัดการกีดกันและสิทธิของคนที่เป็น บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ) เพื่อสนับสนุน วิธีการที่ให้ผลดีที่สุดในการเก็บข้อมูลสถิติ และการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง เกี่ยวกับวิถีทางเพศ อัตลักษณ์ทางเพศ การแสดงออกทาง เพศ และลักษณะเพศทางชีววิทยาที่มีความหลากหลาย แบบสอบถามชุดของบุคคลทีม ู้ อบแบบสอบถามจากแต่ละ ่ ีความหลากหลายทางเพศ ใช้การเก็บตัวอย่างแบบมีโควต้า โดยมีผต กลุ่มย่อยเป็น n = 400 คน กลุ่มย่อยประกอบด้วย หญิงรักหญิง ชายรักชาย และคนข้ามเพศ (รวม n = 1,200) กำรวิเครำะห์ข้อมูล สาหรับแบบสารวจทั้งสาหรับบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ และสาหรับกลุ่มคนที่ไม่ใช่ บุคคลที่มีความหลากหลายทาง เพศ กระบวนการทาความสะอาดข้อมูลทาโดยผู้ให้บริการบุคคลที่สาม คือ องค์กรเลิฟแฟรงกี้ ซึ่งนอกจากทาหน้าที่เป็น หน่วยงานบริหารจัดการแบบสารวจแล้ว ยังเป็นองค์กรภาคีที่ร่วมทาการวิจัยในครั้งนี้อีกด้วยด้วย ข้อมูลจากการสารวจทั้งสอง ชุดนามารวมเข้าด้วยกันและอัพโหลดสู่ไฟล์ SPSS เพื่อทาการวิเคราะห์ข้อมูล การวิ เ คราะห์ ท าขึ้ น เพื่ อ หาความสัม พั น ธ์ ห ลัก สองประการ ประการที่ ห นึ่ งคื อ ผู้ ต อบแบบส ารวจที่ เ ป็ น บุ คคลที่ มีความ หลากหลายทางเพศที่ถูกเลือกปฏิบัติมีรายได้ต่ากว่าผู้ตอบแบบสารวจบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ที่ไม่ถูกเลือกปฏิบัติ หรือไม่ ในทางเดียวกัน การวิเคราะห์ข้อมูลสารวจว่าประชากรกลุ่มย่อยภายในกลุ่มผูต ้ อบแบบสารวจที่มีความหลากหลายทาง ่ ูกเลือกปฏิบัติมีระดับการศึกษาต่ากว่ากลุ่มที่ไม่ถูกเลือกปฏิบัติหรือไม่ เพศทีถ การสารวจนี้วิเคราะห์การเลือกปฏิบัติ เจ็ดด้านได้แก่ การเข้าถึงการประกันสุขภาพและชีวิต งาน บริการหรือผลิตภัณฑ์ทาง การเงิน บริการของรัฐ การศึกษาหรือการอบรม การเช่าสินทรัพย์ และการซื้อสินทรัพย์ รายรับระบุผ่านตัวแปรแบบแบ่ง คู่ (dichotomous) ที่ให้บุคคลเลือกว่ามีรายรับต่อปีในกลุ่ม 60,000 บาทหรือมากกว่านั้นหรือไม่ การศึกษาใช้ตัวแปรแบบแบ่งคู่ โดยถามว่าบุคคลมีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือไม่ กลุ่มตัวอย่างที่นามาใช้วิเคราะห์ประกอบด้วยผู้ตอ บแบบสารวจ 3,200 คน โดยมากกว่า 2,300 คนคือผู้ตอบแบบสารวจในกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ การวิเคราะห์ผลใช้กรอบของการวิเคราะห์เชิงถดถอย เนื่องจากปัจจัยหลายประการที่กระทาต่อกันอาจจะสามารถอธิบายถึง การเปรียบเทียบรายรับเฉลี่ยและการศึกษาแบบง่าย ๆ สาหรับ บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศที่ถูกเลือกปฏิบัติและ ที่ไม่ ถูกเลือกปฏิบัติ ดังนั้น จึงใช้แบบจาลองโพรบิทกับค่ารายรับและระดับการศึกษาแบบแบ่งคู่ ในฐานะที่เป็นตัวแปรที่ไม่แยกจาก กัน ตัวแปรหลักที่สนใจคือตัวแปรแบบแบ่งคู่เจ็ดคู่ ซึ่งจะให้ภาพของการเลือกปฏิบัติในเจ็ดด้าน โดยมีการพิจารณาปัจจัยอื่นอีก หลายประการด้วย ตัวอย่างเช่น ข้อค้นพบอาจจะบ่งชี้ว่าอายุหรือเพศสภาพภายในกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ เป็นปัจจัยที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการถูกเลือกปฏิบัติ หรือสถานที่อยู่อาศัย อาชีพ และประเภทขององค์กรที่ทางานอยู่ อาจจะ เป็นปัจจัยสาคัญที่ส่งผลต่อรายรับและระดับการศึกษา การวิเคราะห์ทาการควบคุมประชากรกลุ่มย่อย แบ่งออกเป็นหญิงรัก หญิง ชายรักชาย และคนข้ามเพศ เนื่องจากแต่ละกลุ่มอาจจะมีระดับของรายรับและการศึกษาแตกต่างกันอย่างเป็นระบบ 76 ท้ายที่สุด ในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการเลือกปฏิบัตบุคคลที่เป็นบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ และรายรับ ของพวกเขา มีการนาการศึกษาเข้าไปเป็นปัจจัยวิเคราะห์ปัจจัยหนึ่งด้วย และเช่นเดียวกัน มีการนารายรับไปเป็นปัจจัย วิเคราะห์ผลกระทบของการเลือกปฏิบัติในภาคการศึกษาด้วย 77 ภำคผนวก ข. แบบสอบถำม--โควต้ำสำหรับแต่ละกลุ่ม กำรนำเสนอข้อมูลองค์ประกอบกลุ่มตัวอย่ำงด้วยภำพและตำรำง ผู้ตอบแบบสอบถามมีทั้งสิ้น 2,302 คนที่เป็นหญิงรักหญิง ชายรักชาย ไบเซ็กชวล คนข้ามเพศ หรือ บุคคลที่มีเพศกากวม (LGBTI) ร้อยละ 66 (1,515 คน) เป็นชายรักชาย ร้อยละ 13 (301 คน) เป็นหญิงรักหญิง และร้อยละ 11 (253 คน) เป็นคน ข้ามเพศ (ดูตารางที่ ข.1) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากมีการศึกษาสูงคือ ร้อยละ 71 มีการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือสูงกว่า แม้ว่าผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 42.8 จะเกิดในกรุงเทพ มีร้อยละ 38.7 ที่ย้ายถิ่นฐานจากภูมิภาคอื่นเข้ามายังกรุงเทพ ทาให้ การย้ายถิ่นฐานเป็นสัดส่วนที่สาคัญในกลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 82 ของผู้ตอบแบบสารวจอาศัยในกรุงเทพ กลุ่ ม ตั ว อย่ า งที่ ไ ม่ ใ ช่ บุ ค คลที่ มี ค วามหลากหลายทางเพศ (n = 1,200) เป็ น กลุ่ ม คนวั ย เยาว์ อายุ เ ฉลี่ ย อยู่ ที่ 33 ปี ผู้ ต อบ แบบสอบถามโดยมากมีอายุอยู่ในช่วง 18-24 ปี และ 35-39 ปี (ดูตาราง ข. 2) ประมาณร้อยละ 60 ของผู้ตอบแบบสอบถาม ที่ไม่ใช่บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศเป็นเพศชาย ในแง่ของระดับการศึกษา ร้อยละ 35.8 มีการศึกษาระดับปริญญาตรี ทาให้กลุ่มนี้มีการศึกษาที่ต่ากว่ากลุ่มตัวอย่างที่เป็นบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศมาก ครึ่งหนึ่ง (ร้อยละ 51.9) ของกลุ่ม ตั ว อย่ า งที่ ไ ม่ ใ ช่ บุ ค คลที่ มี ความหลากหลายทางเพศรายงานว่ า อาศั ยในเขตกรุงเทพและปริ มณฑล โครงสร้ า งหลัก ของ แบบสอบถามสาหรับกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ และกลุ่มที่ไม่ใช่บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศเหมือนกัน ระเบียบวิธีวิจัยทาให้สามารถเปรียบเทียบกลุ่มตัวอย่างได้ สาหรับผู้ที่ตอบว่าถูกเลือกปฏิบัติ มีคาถามเพิ่มเติมเพื่อให้ผู้ตอบ แบบสอบถามระบุว่าเขาคิดว่าเกิดจากวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศหรือไม่ ตาราง ข.1 องค์ประกอบของผู้ตอบแบบสอบถามที่เป็นบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ และที่ไม่ใช่บุคคลที่มีความ หลากหลายทางเพศ บุคคลที่มีควำมหลำกหลำยทำง จำนวนคน สัดส่วนภำยในกลุ่มบุคคลที่มี เพศ ควำมหลำกหลำยทำงเพศ (ร้อย ละ) คนข้ามเพศ 253 10.99 ชายรักชาย 1,515 65.81 หญิงรักหญิง 301 13.08 ไบเซ็กชวล 161 6.99 บุคคลที่มีเพศกากวม 31 1.35 อื่น ๆ 41 1.78 รวม 2,302 — ไม่ใช่บุคคลที่มีควำมหลำกหลำย จำนวนคน สัดส่วนภำยในกลุ่มที่ไม่ใช่บุคคลที่ ทำงเพศ มีควำมหลำกหลำยทำงเพศ (ร้อย ละ) ชาย 716 59.67 หญิง 484 40.33 รวม 1,200 — 78 หมายเหตุ: F = เพศหญิง M = เพศชาย 79 ภำคผนวก ค. กำรวิเครำะห์เชิงถดถอย บุคคลที่มีควำมหลำกหลำยทำงเพศ และกำรถูกเลือกปฏิบัติในกำรจ้ำงงำน ตำรำง ค.1 บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ และเหตุกำรณ์กำรเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับงำน Probit (ผลกระทบส่วนเพิ่ม) กำรเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับงำน (Y/N) coef/se บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ 0.084*** (0.025) การศึกษา: ปริญญาตรีหรือสูงกว่า -0.085*** (0.008) อายุ -0.005*** (0.002) รายรับ 60,000 บาทหรือสูงกว่า Y/N 0.013 (0.015) เขตเมือง 0.039 (0.045) เพศเมื่อแรกเกิด: หญิง 0.035 (0.022) ประเภทของงาน==เต็มเวลา -0.002 (0.010) ประเภทองค์กร==สาธารณะ/รัฐ (เช่น -0.177*** ข้าราชการ ลูกจ้างของรัฐ ผู้บังคับใช้กฎหมาย) (0.065) ประเภทองค์กร==รัฐวิสาหกิจ -0.114* (0.068) ประเภทองค์กร==ภาคเอกชน -0.142** (0.072) ประเภทองค์กร==อื่น ๆ (เช่น สหกรณ์ องค์กร -0.142** ชุมชน เอ็นจีโอ) (0.064) งาน: นายจ้างที่มีลูกจ้าง 0.061*** (0.010) ี ูกจ้าง (จ้างตัวเอง) งาน: นักธุรกิจที่ไม่มล 0.049*** (0.016) งาน: ช่วยเหลือธุรกิจครอบครัว 0.058*** (0.018) 80 งาน: ลูกจ้างที่มีสัญญาจ้าง -0.021** (0.009) ี ัญญาจ้าง (เช่น จ้างรายวัน) งาน: ลูกจ้างที่ไม่มส -0.025** (0.010) งาน: อาสาสมัคร 0.051** (0.023) งาน: ฝึกงาน 0.022 (0.024) งาน: นักเรียนนักศึกษา -0.047** (0.020) ผลกระทบคงที่ (fixed effects) ของภูมิภำค Yes จำนวนข้อมูล 2,610 หมำยเหตุ: ค่าคลาดเคลื่อนมาตรฐานจัดกลุม่ แยกตามภาคของประเทศไทย; บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ = lesbian, gay, bisexual, transgender, or intersex (หญิงรักหญิง ชายรักชาย ไบเซ็กชวล คนข้ามเพศ หรือบุคคลที่มีเพศกากวม); เอ็นจีโอ = องค์พัฒนาเอกชน; coef/se = standard error of the coefficient (คลาดเคลื่อนมาตรฐานของสัมประสิทธิ์); Y/N = Yes/No (ใช่/ไม่) * p < 0.1. ** p < 0.05 *** p < 0.01 81 ติดตอ ธนาคารโลกสํานักงานประเทศไทย ชั้น 30 อาคารสยามพิวรรธน 989 ถนนพระราม 1 ปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท +662 686-8300 Email: thailand@worldbank.org www.worldbank.org/thailand facebook.com/worldbankthailand Supported By: Economic Inclusion of LGBTI Groups in Thailand 76