Public Disclosure Authorized Public Disclosure Authorized Public Disclosure Authorized Public Disclosure Authorized ประเทศไทย ทางเศรษฐกิ จ ของกลุ ่ ม LGBTI ใน การมีส่วนร่วม 17 พฤษภาคม 2017 © 2561 ธนาคารระหว่างประเทศเพื่อการบูรณะและพัฒนา / ธนาคารโลก 1818 H Street NW Washington DC 20433 โทรศัพท์ 202-473-1000 เว็บไซต์ www.worldbank.org งานวิจัยฉบับนี้เป็นผลจากความร่วมมือระหว่างเจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญของธนาคารโลกและบุคลากรภายนอก ข้อค้นพบ การตีความ และข้อสรุปที่แสดงผ่านงานวิจัยฉบับนี้นี้ไม่จาเป็นต้องสะท้อนถึงมุมมองของธนาคารโลก คณะกรรมการบริหาร หรือหน่วยงาน รัฐบาลที่เกี่ยวข้อง ธนาคารโลกไม่รับประกันความถูกต้องของข้อมูลในงานชิ้นนี้ ขอบเขต สี การจาแนกบุคล และข้อมูลอื่น ๆ ที่แสดงในแผนที่ในงาน ชิ้นนี้ไม่ได้สื่อถึงการตัดสินใจของธนาคารโลกเกี่ยวกับสถานะทางกฎหมายของอาณาเขต ดินแดน หรือการรับรองหรือยอมรับอาณา เขตเหล่านั้น สิทธิและการอนุญาต เนื้อหา องค์ประกอบต่าง ๆ ในงานชิ้นนี้อยู่ภายใต้ลิขสิทธิของงาน เนื่องด้วยธนาคารโลกปรารถนาให้มีการเผยแพร่สื่อสารความรู้ ของงานชิ้นนี้ไม่ว่าจะเป็นเพียงบางส่วนหรือทั้งหมดของรายงาน สามารถนามาผลิตซ้าภายใต้วัตถุประสงค์ที่ไม่ใช่เพื่อการค้า และ ตราบเท่าที่มีการของก่าวถึงแหล่งที่มาของงานชิ้นนี้ทั้งหมด หากมีคาถามเกี่ยวกับสิทธิและใบอนุญาต รวมถึงสิทธิที่เกี่ยวข้อง ติดต่อแผนกสิ่งพิมพ์ ธนาคารโลกได้ที่ The World Bank Group, 1818 H Street NW, Washington, DC 20433, USA โทรสาร: 202-522-2625 อีเมล์: pubrights@worldbank.org งานวิจัยนี้ตีพิมพ์ครั้งแรกเป็นภาษาอังกฤษโดยธนาคารโลก ชื่อ Economic Inclusion of LGBTI Groups in Thailand in 2018 หากมีส่วนที่ไม่ตรงกันให้ยึดถือตามต้นฉบับภาษาอังกฤษ ออกแบบหน้าปก Quo Gloal iii สารบัญ กิตติกรรมประกาศ.............................................................................................................................................................vi อักษรย่อ ......................................................................................................................................................................... viiii อภิธานศัพท์..................................................................................................................................................................... viii บทสรุปสาหรับผู้บริหาร ......................................................................................................................................................x 1. บทนา ............................................................................................................................................................................ 1 2. งานวิจัยนี้จัดทาขึ้นมาอย่างไร........................................................................................................................................ 2 3. ประเทศไทย: บริบททางสังคมและกฎหมาย ................................................................................................................. 5 บริบททางสังคม........................................................................................................................................................... 5 บริบททางกฎหมาย ..................................................................................................................................................... 7 4. ความท้าทายในการเข้าถึงตลาดแรงงาน...................................................................................................................... 10 ข้อค้นพบสาคัญ ......................................................................................................................................................... 10 เหตุการณ์การเลือกปฏิบัติ ........................................................................................................................................ 10 ศึกษามุมมองจากภาคเอกชนให้ชัดขึ้น....................................................................................................................... 12 ั ิในตลาดแรงงาน ..................................................................................................... 14 การแสดงออกถึงการเลือกปฏิบต ั ิ ................................................................................................................................ 16 ผลที่ตามมาจากการเลือกปฏิบต 5. การเข้าถึงบริการและตลาด ......................................................................................................................................... 18 ข้อค้นพบสาคัญ ......................................................................................................................................................... 18 การเข้าถึงบริการของรัฐ ............................................................................................................................................ 19 การเข้าถึงบริการสุขภาพและการทาประกัน.............................................................................................................. 22 การเข้าถึงสถาบันการศึกษาและการอบรมวิชาชีพ .................................................................................................... 24 iv การเข้าถึงการเงิน ...................................................................................................................................................... 26 การเข้าถึงที่อยู่อาศัย.................................................................................................................................................. 28 6. เดินไปข้างหน้า—ทางเลือกเชิงนโยบาย ...................................................................................................................... 31 ประเด็นสาคัญที่ 1: ความตระหนักรู้เกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ ............................................................................... 31 ประเด็นสาคัญที่ 2: ความเท่าเทียมของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ และการไม่เลือกปฏิบต ั ิด้วยเหตุแห่งวิถี และอัตลักษณ์ทางเพศ ในการจ้างงาน....................................................................................................................... 34 ี วามหลากหลายทางเพศ ................................ 36 ประเด็นสาคัญที่ 3: ความเท่าเทียมในการดูแลสุขภาพของบุคคลที่มค ี ่วนร่วมสาหรับทุกคน ......................................................................................... 37 ประเด็นสาคัญที่ 4: การศึกษาที่มส ประเด็นสาคัญที่ 5: ความเสมอภาคในสิทธิตามกฎหมาย .......................................................................................... 39 ประเด็นสาคัญที่ 6: การวิจัยเพื่อเติมเต็มช่องว่างทางความรู้ ..................................................................................... 42 รายการอ้างอิง ................................................................................................................................................................. 46 ภาคผนวก A. การพัฒนา การทดสอบ และการกระจายแบบสารวจออนไลน์ ........................................................... 52 ภาคผนวก B. การสารวจ–โควต้าสาหรับแต่ละกลุ่ม .................................................................................................. 54 ี วามหลากหลายทางเพศและการเลือกปฏิบัติในการจ้างงาน ... 56 ภาคผนวก C. การวิเคราะห์การถดถอย—บุคคลที่มค v กิตติกรรมประกาศ รายงานฉบับนี้จัดเตรียมโดยคณะทางานของกลุ่มธนาคารโลก ภายใต้การดูแลของ อูลริค ซาเกา (ผู้อานวยการธนาคารโลก ประจาประเทศไทย) และ ซูซาน เอส เชน (ผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการด้านงานพัฒนาสังคม ) หัวหน้าทีมปฏิบัติการคือ มาเรีย บรีทริซ ออร์แลนโด (หัวหน้าผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาสังคม) คณะทางานประกอบด้วย ซูซานา โบเอห์โมวา (ที่ปรึกษาอาวุโส ด้านเพศสภาพ) คลิฟตัน คอร์เทซ (ที่ปรึกษาประจาธนาคารโลกด้านวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ ) ฟิลิป เครฮาน (ที่ ปรึกษาด้านบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ) อาซิฟ โมฮัมเหม็ด อิสลาม (นักเศรษฐศาสตร์) โดมินิค โคห์เลอร์ (ที่ปรึกษา ด้านบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ) ปิโยตร์ ปอลัค (ที่ปรึกษาอาวุโสด้านเพศสภาพ ) และ ภมรรัตน์ ตันสงวนวงษ์ (ผู้เชี่ยวชาญอาวุโสด้านการพัฒนาสังคม ) โครงการศึกษาวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนอย่างดียิ่งจากนอร์ดิก ทรัส ฟันด์ (Nordic Trust Fund) นับเป็นทุนที่เกื้อหนุนและสร้างพื้นที่การเรียนรู้สาหรับเจ้าหน้าที่ธนาคารโลกในการใช้กรอบสิทธิมนุษยชนใน โครงการพัฒนาด้านต่าง ๆ คณะทางานขอขอบคุณข้อเสนอแนะและการหารือที่สาคัญจากโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) และ กรมกิจการ สตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวง ยุติธรรม คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่ งชาติ ประเทศไทย คณะกรรมการส่งเสริมความเท่ าเทียมระหว่ างเพศ และ คณะกรรมการวินิจฉัยการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมระหว่างเพศ การศึ ก ษานี้ ส าเร็ จ ลุ ล่ ว งลงได้ ด้ ว ยความร่ ว มมื อ ด้ า นการวิ จั ย ที่ เ ข้ ม แข็ ง จากองค์ ก รพั น ธมิ ต ร อั น ประกอบด้ ว ย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เจมส์ เบอร์ฟอร์ด นาดา ไชยจิตต์ อดิศร จันทราสุข และติโม โอจาเนน และ องค์กรเลิฟ แฟรงกี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง รุยซี ทิโอ และไมค์ วิลสัน ภาคีร่วมงานวิจัยเหล่านี้ของเราได้ช่วยขัดเกลาระเบียบวิธี วิจัยและความคิดที่นามาสู่การทารายงานฉบับนี้ เราขอขอบคุณองค์กรเครือข่ายทั้งหลาย โดยเฉพาะ เวิร์คเพลสไพรด์ ฮอร์ เน็ต และบีเช้นจ์ในการเชื่อมต่อทีมงานกับประชากรที่มีความหลากหลายทางเพศทั่วประเทศไทย สุดท้ายนี้ ขอขอบคุณ ก้าวหน้า เสาวกุล (หรือโตโต้) ที่ช่วยแชร์ลิงค์แบบสอบถามให้เข้าสู่ประชากรที่มีความหลากหลายทางเพศจานวนมากใน ประเทศไทย ทีมงานขอขอบคุณกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กรมคุ้มครอง สิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งประเทศไทย คณะกรรมการส่งเสริมความเท่าเทียม ระหว่างเพศ และคณะกรรมการวินิจฉัยการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมระหว่างเพศ พันธมิตร ๆ เพื่อนร่วมงาน และองค์กรภาคีทั้งหลายในประเทศไทยทีร่ ่วมอภิปรายในการจัดสนทนากลุม ่ ย่อยและการสัมภาษณ์ ผู้ให้ข้อมูลสาคัญ มีความสาคัญอย่างมากในการพัฒนาการศึกษาตลอดจนทาให้การศึกษาวิจัยนีส ้ าเร็จ ขอขอบคุณเป็นพิเศษ สาหรับองค์กรพัฒนาเอกชนหลายองค์กรในกรุงเทพ เชียงใหม่ พัทยา และภูเก็ต อันได้แก่ แอ็พคอม (APCOM) เครือข่ายคน ข้ามเพศเอเชียแปซิฟิค (Asia Pacific Transgender Network) เอ้าท์บีเคเค (OUTBKK) องค์การแพลนประเทศไทย สมาคม vi ฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย มูลนิธิเครือข่ายเพื่อนกะเทยเพื่อสิทธิมนุษยชน โรงน้าชา โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติสานักงาน เอเชียแปซิฟิก องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ องค์การเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศของ สหรัฐฯ เอเชีย และเวิร์คเพลสไพรด์ ในกรุงเทพ มูลนิธิเอ็มพลัสในเชียงใหม่ อันดามันเพาเวอร์และรุง ้ อันดามัน และภูเก็ต ิ ิสเตอร์ พัทยา ไพรด์ ในภูเก็ต และมูลนิธซ คณะทางานขอขอบคุณเป็นพิเศษสาหรับ คุณอูลริค ซาเกาสาหรับคาแนะนา ความคิดเห็นที่สร้างสรรค์ ข้อเสนอแนะที่เป็น ประโยชน์ และการสนับสนุนอย่างต่อเนื่องในการขับเคลื่อนงานวิจัยฉบับนี้ แกเบรียล ดีมอมบีเนส (หัวหน้า กลุ่มงานด้านการ พัฒนามนุษย์) อีวา โคลฟ (เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการอาวุโส) จอร์จ ลูอิส โรดริเกซ์ เมซา (ผู้จัดการกลุ่มงาน) และลาร์ ซอนเดอร์ การ์ด (หัวหน้ากลุ่มงานด้านพัฒนามนุษย์ การศึกษาและสุขภาพ) ผู้ซึ่งให้การดูแลแนะนาเชิงเทคนิคในแต่ละขั้นของการศึกษา ผู้อ่านทบทวน เจอร์มัน เฟรรี (ผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาสังคมอาวุโส) มาร์คัส โกลด์สเตน (หัวหน้านักเศรษฐศาสตร์) และ จอร์เจีย ฮาร์ลี (ผู้เชี่ยวชาญอาวุโสด้านการบริหารจัดการที่ดี ) ที่ให้ข้อเสนอแนะที่มีคุณค่า ขอขอบคุณเลขาธิการและการ บริหารจัดการของนอร์ดิกทรัสฟันด์ (อันนา ออติโอ และ แอสมีน คาน) สาหรับการสนับสนุนในแต่ละขั้นตอนของโครงการ รายงานนี้ได้รับประโยชน์อย่างยิ่งจากการสนับสนุนด้านการธุรการของ อลิซาเบ็ธ อาคุล ลอร์เดส อันดุคตา และปุญญานุช ชุลสุคนธ์ นอกจากนี้ ขนิฐา คงรักเกียรติยศ (เจ้าหน้าที่การสื่อสารองค์กร) และ เบน อเล็กซ์ มันเซอร์ (นักวิเคราะห์การสื่อสาร องค์กร) ได้ให้การสนับสนุนด้านการสื่อสารที่ยอดเยี่ยม ขอบคุณเป็นพิเศษสาหรับบาร์บารา โจน ไรซ์สาหรับการสนับสนุนด้าน บรรณาธิการ คณะทางานขอขอบคุณอย่างยิ่งสาหรับกลุม ่ ีความหลากหลายทางเพศและบุคคลทีไ ่ บุคคลทีม ่ ม่ใช่กลุ่มที่มีความหลากหลายทาง เพศในประเทศไทยที่เข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการสารวจและการสัมภาษณ์ และแบ่งปันความคิดเห็น ทัศนคติ และ ประสบการณ์ vii อักษรย่อ AIDS ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง (acquired immune deficiency syndrome) HIV ุ้ กันบกพร่อง (human immunodeficiency virus) ไวรัสทีเ่ ป็นสาเหตุของภาวะภูมิคม LGBTI เลสเบียน เกย์ ไบเซ็กชวล ทรานส์เจนเดอร์ และอินเตอร์เซกส์ (lesbian, gay, bisexual, transgender และ intersex) หรือเรียกโดยรวมว่า บุคคลที่มคี วามหลากหลายทางเพศ NGO องค์กรพัฒนาเอกชน (nongovernmental organization) SOGI วิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ (sexual orientation and gender identity) UNCTAD การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา (United Nations Conference on Trade and Development) UNDP โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (United Nations Development Programme) UNESCO องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific, and Cultural Organization) UNICEF กองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (United Nations Children’s Fund) USAID องค์กรเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศของสหรัฐอเมริกา (U.S. Agency for International Development) WHO องค์การอนามัยโลก (World Health Organization) หมายเหตุ รายงานนี้ใช้อักษรย่อ LGBTI (สาหรับฉบับภาษาอังกฤษ) สาหรับฉบับแปลภาษาไทยนี้ใช้คาว่า บุคคลที่มีความ หลากหลายทางเพศ เมื่อมีการกล่าวถึงกลุ่มอัตลักษณ์ทางเพศของบุคคลทุกกลุ่มในเอกสารอ้างอิงหรือเมื่อทุกกลุ่มได้รับ การพูดถึงโดยรวม และใช้อักษรย่อ LGBT เมื่อประเด็นบุคคลอินเตอร์เซ็กส์ไม่ได้ถูกรวมไว้ด้วย โดยมากในรายงานทุติย ภูมิหรือในการวิเคราะห์ผล นอกจากนี้ ใช้อักษรย่อ SOGI (สาหรับรายงานฉบับภาษาอังกฤษ) เมื่อกล่าวถึงรายงานทุติย ภูมิและการวิเคราะห์ผลของงานวิจัยมุ่งเน้นไปที่ประเด็นในวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ viii อภิธานศัพท์ ไบเซ็กชวล บุคคลที่มีความดึงดูดทางเพศหรือเชิงรักใคร่ หรือมีเพศสัมพันธ์กับคนได้มากกว่าหนึ่งเพศสภาพ การรังแก (Bullying) พฤติกรรมก้าวร้าวซ้า ๆ ที่จงใจกระทาเพื่อให้อีกฝ่ายบาดเจ็บหรือรู้สึกอึดอัด อาจเป็นด้วยการ สัมผัสทางกาย โจมตีด้วยวาจา การต่อสู้ หรือการชักจูงให้อีกฝ่ายรู้สึกหรือคิดไปในทางที่ต้องการ การรังแกรวมความถึง การมีอานาจไม่เท่ากัน และรวมถึงการหยอก การแกล้ง การยั่ว หรือเรียกอีกฝ่ายด้วยถ้อยคาที่สร้างความเจ็บปวด การใช้ ความรุนแรงทางกายภาพ หรือการกีดกันทางสังคม การรังแกอาจกระทาโดยตรง เช่น เด็กคนหนึ่งเรียกร้องเงินหรือ สิ่งของในครอบครองของเด็กอีกคนหนึ่ง หรือโดยอ้อม เช่น การแพร่ข่าวลือในกลุ่มนักเรียนด้วยกัน ซิสเจนเดอร์ (Cisgender) คาเรียกบุคคลที่อัตลักษณ์ทางเพศตรงกับเพศที่ถูกกาหนดให้เมื่อแรกเกิด เกย์ บุคคลที่มีความดึงดูดทางเพศหรือเชิงรักใคร่กับคนที่มเี พศสภาพเดียวกัน มักใช้กับผู้ชาย เพศสภาพ (Gender) ลักษณะและโอกาสทางสังคมที่ถูกกาหนดขึ้น โดยเชื่อมโยงกับเพศชายและหญิง รวมความถึง ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งผู้ ห ญิ ง และผู้ ช าย เด็ ก ผู้ ห ญิ ง และเด็ ก ผู้ ช าย เช่ น เดี ย วกั บ ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งผู้ ห ญิ ง และ ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ชาย ี วามอดทน หรือความเกลียดชัง การเกลียดกลัวการรักเพศเดียวกัน (Homophobia) ความกลัว ความอึดอัด การไม่มค ที่มีต่อการรักเพศเดียวกันหรือบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ การรังแกเนื่องจากการเกลียดกลัวการรักเพศเดียวกัน (Homophobic bullying) การรังแกที่มีฐานมาจากวิถีทางเพศ ่ ู้รังแกคิด หรืออัตลักษณ์ทางเพศของผู้ถูกกระทา ทั้งที่เป็นจริงหรือตามทีผ ความรุนแรงอันมีเหตุจากการรังเกียจการรักเพศเดียวกัน ความรุนแรงที่มีฐานมาจากวิถีทางเพศหรืออัตลักษณ์ทางเพศ ู้ ังแกคิด ของผู้ถูกกระทา ทั้งที่เป็นจริงหรือตามที่ผร อินเตอร์เซ็กส์ (Intersex) คากว้าง ๆ ที่ใช้ครอบคลุมถึงบุคคลที่เกิดมาพร้อมกับลักษณะทางเพศ เช่น ทางกายภาพ ฮอร์โมน หรือโครโมโซม เป็นต้น ไม่ตรงกับการให้ความหมายของเพศโดยอิงมาตรฐานร่างกายแบบทวิลักษณ์ (เป็นแบบ ชายหรือหญิงเท่านั้น) บุคคลที่เป็นอินเตอร์เซ็กส์อาจจะมีวิถีทางเพศหรืออัตลักษณ์ทางเพศแบบใดก็ได้ เลสเบี้ยน ผู้ที่นิยามตนเองว่าเป็นผู้หญิงและรักใคร่ชอบพอหรือมีแรงดึงดูดทางเพศกับผู้หญิง ชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย (MSM) ผู้ชายที่มีเพศสัมพันธ์กับผู้ชาย อาจจะเรียกตนเองว่าเป็น “เกย์” หรือ “รักเพศ เดียวกัน” หรือไม่ก็ได้ ix ความรุนแรงที่เกี่ยวกับเพศสภาพในโรงเรียน การกระทาหรือการคุกคามทางเพศ กายภาพ หรือจิตใจ ที่เกิดขึ้นหรือ รอบ ๆ บริบทของโรงเรียน ซึ่งการเกิดขึ้นเป็นผลของขนบหรือภาพเหมารวมของสังคมที่เกี่ยวกับเพศสภาพ และมักจะถูก ้ ได้ด้วยความไม่เท่าเทียมทางอานาจหรือทางกายภาพ อานวยให้เกิดขึน วิถีทางเพศ อัตลักษณ์ทางเพศ (Sexual orientation gender identity -- SOGI) ความดึงดูดทางกายภาพ ทาง จิตใจ ทางอารมณ์ หรือเชิงรักใคร่ (วิถีทางเพศ) อัตลักษณ์ทางเพศของบุคคลซึ่งอาจแตกต่างจากเพศที่ถูกกาหนดให้เมื่อ แรกเกิด การตีตรา (Stigma) ทัศนคติหรือการตัดสินที่มีต่อบุคคลหรือทางสังคม ที่ส่งผลในแง่ลบต่อบุคคลหรือคนในกลุ่มนั้น และ นาไปสู่การเลือกปฏิบัติ ทอม เป็นคาที่ประยุกต์มาจากคาศัพท์ภาษาอังกฤษ “ทอมบอย” เมื่อใช้ในภาษาไทยมีความหมายว่าเพศหญิงที่อาจจะ รู้สึกเหมือนผู้ชายมากกว่า ทอมอาจจะมีการแสดงออกภายนอกเป็นแบบชาย คนข้ามเพศ (Transgender) คากว้าง ๆ ที่หมายถึงคนที่อัตลักษณ์ทางเพศหรือการแสดงออกทางเพศแตกต่างจากเพศ ที่ถูกกาหนดให้เมื่อแรกเกิด อัตลักษณ์คนข้ามเพศไม่ขึ้นอยู่กับกระบวนการทางการแพทย์ ตัวอย่างของคนข้ามเพศ เช่น คนที่ถูกระบุให้เป็นเพศหญิงเมื่อแรกเกิดแต่นย ิ ามตนเองเป็นผู้ชาย (ผู้ชายข้ามเพศ) และคนที่ถูกระบุให้เป็นเพศชายเมื่อ แรกเกิดแต่นย ิ ามตนเองเป็นผูห้ ญิง (ผู้หญิงข้ามเพศ) x บทสรุปสาหรับผู้บริหาร ประเทศไทยมีภาพลักษณ์ ที่ก้าวหน้ากว่าหลายประเทศในกลุ่ม ประเทศที่กาลังพัฒนาที่มีระดับรายได้ปาน กลางในประเด็นเรื่องบทบาทและการมีส่วนร่วมของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ (LGBTI) ถึง กระนั้นผลการศึกษาวิจัยกลับแสดงผลให้ประจักษ์ว่ากลุ่ม บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศยังคงประสบปัญหา การเลือกปฏิบัติ ถูกจากัดในด้านโอกาสการทางานและสิทธิในการเป็นเจ้าของที่อยู่อาศัย และเผชิญกับอุปสรรค กีดขวางการเข้าถึงบริการพื้นฐานในหลาย ๆ ด้าน ข้อมูลส่วนใหญ่เกี่ยวกับ วิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ (SOGI) ในประเทศไทยมักเป็นข้อมูลในเชิงคุณภาพ ดังนั้นงานวิจัยฉบับใหม่ล่าสุดนี้ ที่ทางธนาคารโลกเป็นผู้นาและดาเนินการวิจัยร่วมกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ องค์ กร Love Frankie และกองทุ น นอร์ดิกทรัสต์ ฟัน ด์ ถือว่ าเป็น ความพยายามครั้งแรกในการรวบรวมและ วิเคราะห์ข้อมูล เชิงปริมาณและผลลั พธ์จากกลุ่ม ตัว อย่างที่ ครอบคลุ มและเป็นตั วแทนกลุ่ม เป้า หมายอย่ า งมี นัยสาคัญในมิติทางเศรษฐกิจและการเงินของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทย ประกอบกับ ข้อมูลเชิงคุณภาพที่ได้จากการสัมภาษณ์ การเก็บข้อมูลเชิงลึกในรูปแบบของ “เรื่องราวชีวิต” จากผู้ให้ข้อมูลที่มี ความหลากหลายทั้งในวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศจานวน 19 คนทั่วทุกภูมิภาคหลักของประเทศไทย หนุน เสริมข้อมูลที่ได้จากการทาสารวจผ่านช่องทางออนไลน์ และเผยให้เห็นภาพในระดับที่ลึกลงไปอีกเกี่ยวกับชีวิต ของกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามที่มีความหลากหลายทางเพศ นับเป็นครั้งแรกในประเทศไทยที่งานศึกษาวิจัยฉบับนี้ นาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับประชากรที่ไม่ใช่กลุ่มความหลากหลายทางเพศซึ่งสะท้อนทัศนคติของพวกเขาต่ อกลุ่ม บุคคลที่มีหลากหลายทางเพศ บนพื้นฐานของคาตอบที่ได้รับจากแบบสอบถามโดยกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่เพียง พอที่จะเป็นตัวแทนเชิงสถิติของประชากรที่ไม่ใช่กลุ่มความหลากหลายทางเพศ งานวิจัยฉบับนี้มุ่งเน้นการศึกษาว่ากลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศมีคุณค่ าต่อสังคมไทยในด้านเศรษฐกิจ และการเงินอย่างไร ทั้งในด้านโอกาสและการมีส่วนร่วม หรือการเลือกปฏิบัติและถูกกีดกัน ของพวกเขา งาน ศึกษานี้มุ่งเน้นการฉายภาพผลลัพธ์ที่แตกต่างกันของกลุ่มประชากรที่มีหลากหลายทางเพศและกลุ่มที่ไม่ใช่ความ หลากหลายทางเพศ ในเรื่องตลาดแรงงานและการจ้างงาน อสังหาริมทรัพย์ และตลาดการเงิน พร้อมทั้งศึกษาถึง อุปสรรค ความท้าทายในกลุ่มประชากรที่มีความหลากหลายทางเพศต้องเผชิญในการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา สาธารณสุขและบริการด้านต่าง ๆ ของรัฐ จากผลลัพธ์ของการศึกษา ประกอบกับประสบการณ์นานาชาติและ การทบทวนงานเขียนต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รายงานฉบับนี้จึงนาเสนอข้อเสนอแนะและแผนงานเชิงนโยบายที่จะช่วย เปิ ด กว้ า งซึ่ ง โอกาสส าหรับ ประชากรที่ มีความหลากหลายทางเพศและก่อให้ เกิด การแบ่ง ปันความมั่ งคั่งแก่ ประชาชนไทยทุกคนอย่างทั่วหน้า xi เสียงตอบกลับจากชุมชนของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ในการตอบแบบสารวจออนไลน์ที่เป็น องค์ประกอบหนึ่งของงานวิจัยครั้งนี้ ร้อยละ 60 ของกลุ่มคนข้ามเพศ (transgender people) ร้อยละ 30 ของกลุ่มเลสเบี้ยน และร้อยละ 20 ของกลุ่มเกย์ตอบว่ามีการเลือกปฏิบัติใน การทางานของพวกเขา มากกว่าครึ่งหนึ่งของคนที่ตอบแบบสอบถามกล่าวว่า ใบสมัครของพวกเขาโดนปฏิเสธ ด้วยเหตุแห่งการมีอัตลักษณ์เป็นบุคคลที่มีหลากหลายทางเพศ บุคคลอินเตอร์เซ็กซ์คนหนึ่งในกรุงเทพฯ กล่าวว่า “ฉันสมัครไป แต่พวกเขาบอกฉันว่า ‘ตาแหน่งงานนี้สาหรับ ผู้หญิงเท่านั้น เธอไม่ใช่ผู้หญิง’ ดังนั้นพวกเขาจ้างฉันไม่ได้ ‘ฉัน รู้นะว่าเธอมีความสามารถ ผู้คนเขาสรรเสริญเธอ แต่ว่าสาหรับ ตาแหน่งนี้ ทางผู้ใหญ่เขาต้องการผู้หญิงแท้ๆ เธอไม่ใช่ผู้หญิง เธอมีคานาหน้าชื่อว่า นาย’” --บุคคลเพศกากวมวัย 27 ปีจากปริมณฑล กรุงเทพฯ ข้อค้นพบในลักษณะนี้สวนทางกับความก้าวหน้าของประเทศไทยที่ได้พัฒนากฎหมายเพื่อยุติการเลือกปฏิบัติต่อ บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ประเทศไทยเป็นภาคีในอนุสัญญาสหประชาติว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติ ต่อผู้หญิง ซึ่งภายใต้กลไกนี้ได้มีการกาหนดข้อเสนอแนะทั่วไปเพื่อขจัดการเลือกปฏิบัติที่ครอบคลุมเหตุแห่ง วิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ นอกจากนี้ประเทศไทยประกาศใช้พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ.2558 ที่มีบทบัญญัติ ว่า การเลือกปฏิบัติต่อบุคคลที่ มีรูปลักษณ์ภายนอกไม่ตรงกับเพศกาเนิด เป็นสิ่งที่ผิด กฎหมาย อย่างไรก็ดี ผู้เข้าร่วมกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศให้ข้อมูลในงานศึกษาครั้งนี้รายงานว่า มีการเลือก ปฏิบัติเกิดขึ้นในเรื่องการเข้าถึงโอกาสในการทางาน การรับบริการของรัฐ การศึกษาหรือฝึกอบรม และบริการ ด้านสาธารณสุข ตลอดจนการซื้อหรือเช่าอสังหาริมทรัพย์ ภาพที่ 1 แสดงให้เห็นถึงคาตอบที่ได้รับจากการสารวจ ออนไลน์ บุคคลจานวน 3,502 คนที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย: โดยในจานวนนี้ 1,200 คนเป็นผู้ตอบแบบสอบถาม ที่ไม่ใช่กลุ่มความหลากหลายทางเพศ และผู้ตอบแบบสอบถามที่เป็นกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ จานวน 2,302 คนที่ระบุตนว่าเป็นเกย์ เลสเบี้ยน คนข้ามเพศ อินเตอร์เซ็กซ์ หรือเพศอื่น ๆ การสารวจครั้งนี้เป็น ความพยายามในการรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณที่ใหญ่ที่สุดเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจของกลุ่มบุคคลที่มี ความหลากหลายทางเพศ ในประเทศไทยและในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก xii ภาพที่ 1 กลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทยรายงานว่ามีการเลือกปฏิบัติในทุก ๆ ด้านของ ชีวิตในทางเศรษฐกิจและสังคม ข้อมูลแจกแจงตามกลุ่มย่อย (ร้อยละ) ข้อค้นพบที่สาคัญจากการสารวจ ในบรรดาผลลัพธ์ทั้งหมดที่ได้มาจากการตอบแบบสารวจมีห้าประเด็นสาคัญที่ปรากฎให้เห็นอย่างเด่นชัดเกี่ยวกับ คาถามที่ว่าในปัจจุบันบุคคลที่มีหลากหลายทางเพศเผชิญสภาวะทางเศรษฐกิจและทางการเงินเช่นใดบ้างใน สังคมไทย xiii ข้อค้นพบที่ 1 มีเพียงร้อยละ 7 ของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ กับร้อยละ 1 ของกลุ่มที่ไม่ใช่ผู้มี ความหลากหลายทางเพศที่เข้าร่วมการสารวจตอบว่าพวกเขาตระหนักรู้ว่าในประเทศไทยมีกฎหมายที่ห้าม การเลือกปฏิบัติต่อบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศมากกว่าครึ่ง (51%) ของคนที่ตอบแบบสอบถามใน กลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศและมากกว่าสองในสาม (69%) ของผู้ตอบแบบสารวจที่ไม่ใช่กลุ่มผู้ มีความหลากหลายทางเพศ กล่าวว่าพวกเขาไม่รู้ว่ามีกฎหมายดังกล่าวอยู่ (ดูภาพ 2) ประเทศไทยประกาศให้ ความคุ้มครองต่อกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในทางกฎหมาย รวมทั้งพระราชบัญญัติความเท่าเทียม ระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 ี วาม ภาพที่ 2 ผู้ตอบแบบสารวจส่วนใหญ่ไม่รู้ว่ามีกฎหมายที่ห้ามเลือกปฏิบัติและกีดกันบุคคลที่มค หลากหลายทางเพศ (ร้อยละ) ข้อค้นพบที่ 2 ผู้ตอบแบบสารวจในกลุ่ม บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศรายงานว่า การเลือกปฏิบัติ ร้ายแรงที่สุดเกิดขึ้นในตลาดแรงงาน ตามมาด้วยในตลาดอสังหาริมทรัพย์ ในกรณีที่พวกเขาประสงค์จะเช่า หรือซื้ออสังหาริมทรัพย์ (ดูภาพที่ 1) การเลือกปฏิบัติในการทางานที่ประชากรเลสเบี้ยน เกย์ คนข้ามเพศตอบ แบบสารวจเกิดขึ้นในหลายรูปแบบ โดยประเภทที่พบบ่อยที่สุดคือ การถูกปฏิเสธใบสมัครงาน และการคุกคามใน สถานที่ทางาน (ดูภาพที่ 3) ผู้ตอบแบบสารวจที่เป็นคนข้ามเพศประสบสภาพปัญหาที่เลวร้ายที่สุดกล่าวคือ ร้อย xiv ละ 77 ของคนที่ตอบแบบสารวจกล่าวว่า พวกเขาถูกปฏิเสธตั้งแต่ขั้นตอนการสมัครงานด้วยเหตุแห่งอัตลักษณ์ ทางเพศของพวกเขา ร้อยละ 40 กล่าวว่าโดนคุกคาม ประมาณครึ่งหนึ่งของกลุ่มเกย์ (49%) กับ ร้อยละ 62 ของ กลุ่ม เลสเบี้ยนกล่าวว่าการสมัครงานของพวกเขาถูกปฏิเสธด้วยเหตุแห่งวิถี ทางเพศหรืออัตลักษณ์ทางเพศของ พวกเขา ประมาณหนึ่งในห้าของกลุ่มเกย์กล่าวว่าพวกเขาถูกมองข้ามในช่วงเวลาที่มีการพิจารณาเลื่อนตาแหน่ง หรือไม่ได้รับสวัสดิการที่เกี่ยวข้องกับการทางานเพราะสถานภาพความเป็นบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ของพวกเขา ภาพที่ 3 ผู้ตอบแบบสารวจที่เป็นบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศกล่าวว่ามีการเลือกปฏิบัติใน ตลาดแรงงานอย่างกว้างขวาง ั ิในตลาดแรงงานทั่วทุกภาค บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศประสบกับการเลือกปฏิบต การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับงานและในแวดวงการทางานมีลักษณะแตกต่างหลากหลายกันไปตามอาชีพและภาค เศรษฐกิจกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศจะไม่สามารถเข้าถึงอาชีพในหน่วยงานตารวจกับ ภาคส่วนที่ xv เกี่ยวข้องกับการบังคับใช้กฎหมาย กองทัพ และสถาบันเกี่ยวกับศาสนาได้ (ดูภาพที่ 4) ในทางตรงกันข้าม พวก เขาสามารถเข้าไปทางานได้ง่ายขึ้นในภาคการเกษตร ธุรกิจค้าปลีก ความงามและสุขภาพ ข้อค้นพบในมุมนี้บ่งชี้ เรื่องการแบ่งแยกกีดกันทางอาชีพด้วยเหตุแห่ง วิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศกับข้อจากัดในความคล่องตัว และความก้าวหน้าทางอาชีพของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในตลาดแรงงาน มากกว่าครึ่งหนึ่ง (เกือบ 53%) ของผู้ตอบแบบสารวจที่เป็น กลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศรายงานว่า ประสบปัญหาทางอารมณ์ รวมถึงโรคซึมเศร้า วิตกกังวลและคับข้องใจ อันสืบเนื่องมาจากการถูกเลือกปฏิบัติหรือ การกีดกันในตลาดการงาน ภาพที่ 4 ภาคอาชีพที่ผู้ตอบแบบสอบถามกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศระบุว่า ยากหรือแทบ เป็นไปไม่ได้ที่จะได้งาน (ร้อยละ) ข้อค้นพบที่ 3 ผู้ตอบแบบสอบถามกลุ่ม บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศเผชิญอุปสรรคท้าทายสาคัญใน การเข้าถึงบริการของรัฐ เช่นการขอออกบัตรประจาตัวประชาชน หนังสือเดินทางหรือเอกสารประจ าตัว xvi สาคัญอื่นๆ ที่สาคัญที่สุด กลุ่มเกย์ร้อยละ 40.6 กลุ่มเลสเบี้ยนร้อยละ 36.4% และ กลุ่มคนข้ามเพศร้อยละ 46.9 ของที่ร่วมตอบแบบสารวจกล่าวว่า พวกเขาไม่ได้รับบริการที่พวกเขาแสวงหาจากรัฐ (ดูภาพที่ 5) ครึ่งหนึ่งของผู้ตอบแบบสอบถามกลุ่ม บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ตอบว่าพวกเขาได้รับการปฏิบัติแบบ ไม่ให้เกียรติในยามที่ไปขอรับบริการจากรัฐ และมากกว่าร้อยละ 30 กล่าวว่าพวกเขาโดนคุกคามหรือล้อเลียน และถูกเรียกร้องให้ต้องทาตามข้อบังคับ เพิ่มเติมมากกว่าประชาชนทั่วไปในยามที่ต้องการใช้บริการรัฐ ผู้ตอบ แบบสอบถามกลุ่ม บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศกลุ่มใหญ่มากประสบความทุกข์ยากลาบากทั้งในด้าน การเงิน อารมณ์ ทั้งในเรื่องส่วนตัวและทางด้านกฎหมาย เพราะการเลือกปฏิบัติที่เผชิญในเวลาที่แสวงหาบริการ ภาครัฐ xvii ภาพที่ 5 ผลที่สืบเนื่องมาจากการถูกเลือกปฏิบัติเมื่อเข้าถึงบริการภาครัฐ แจงตามกลุ่มอัตลักษณ์ย่อย (ร้อยละ) ข้อค้นพบเรื่องที่ 4 .ในบรรดาผู้ตอบแบบสอบถามในกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศกลุ่มคนข้ามเพศ รายงานถึงประสบการณ์เลือกปฏิบัติและกีดกันที่พวกเขาพบบ่อยที่สุดและร้ายแรงที่สุด ในประเด็นเดียวกันนี้ กลุ่มเลสเบี้ยนรายงานถึงผลลัพธ์ที่ออกมาเลวร้ายกว่าของกลุ่มเกย์ ตัวอย่างเช่น ร้อยละ 60 ของกลุ่มคนข้าม xviii เพศแจ้งว่าพวกเขามีประสบการณ์ถูกเลือกปฏิบัติในเรื่องการทางาน ซึ่งเป็นผลลัพธ์ตัวเลขที่ตรงกันข้ามกับร้อยละ 29 ของกลุ่มเลสเบี้ยน และ ร้อยละ 19 ของบรรดากลุ่มเกย์ในประสบการณ์รูปแบบเดียวกันนี้ ซึ่งก็คือการเลือก ปฏิบัติอย่างมากต่อคนข้ามเพศ ตามมาด้วยระดับที่ร้ายแรงตามลาดับในกลุ่มเลสเบี้ยนกับกลุ่มเกย์ และยังปรากฏ ชัดเจนในการเข้าถึงบริการภาครัฐทุกประเภท ตั้งแต่การศึกษาและฝึกอบรม การประกันชีวิตหรือประกันสุขภาพ และผลิตภัณฑ์ทางการเงินรวมถึงการเช่าบ้าน มีข้อยกเว้นประการเดียวคือการซื้ออสังหาริมทรัพย์ อันเป็นกรณีที่ กลุ่มเลสเบี้ยนประสบกับการเลือกปฏิบัติมากที่สุด ตามมาด้วยกลุ่ มคนข้ามเพศและกลุ่มเกย์ ซึ่งมีผู้หญิงข้ามเพศ กับเกย์เล่าประสบการณ์ของตนว่า “ปัญหาหลักเลยก็คือคานาหน้าชือ ่ ของฉัน เมื่อฉันต้อง ติดต่อธนาคาร พวกเขาก็มักจะมีปัญหากับบัตร ประชาชนของฉัน เพราะมันเขียนคานาหน้าว่า นาย รูปภาพก็เป็นรูปเก่า พวกเขามักจะสงสัยและบอกว่า ต้องสืบหาข้อมูลเพิ่มเติม” “คนข้ามเพศไม่ได้รับการปฏิบัติอย่าง -- ผู้หญิงข้ามเพศ อายุ 20 ปีจากภาคกลาง เท่าเทียมกันในชุมชน พวกเขาเป็นที่ดู ้ สอง” ถูกในฐานะที่เป็นประชาชนชัน --เกย์วัย 26 ปีจากภาคใต้ ข้ อ ค้ น พบเรื่ อ งที่ 5 มากกว่ า หนึ่ ง ในสาม (ร้ อ ยละ 37.4) ของผู้ ต อบแบบส ารวจที่ ไ ม่ ใ ช่ ก ลุ่ ม ผู้ มี ค วาม หลากหลายทางเพศ บอกว่ายอมรับได้หากว่าผู้จ้างงานเลือกปฏิบัติต่อบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ เกือบครึ่งหนึ่ง (ร้อยละ 48) กล่าวว่าเป็นเรื่องสมเหตุผลแล้วที่กลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศประสบ กับการเลือกปฏิบัติบางรูปแบบในเวลาที่เข้าใช้บริการรัฐ (ดูภาพที่ 6) xix ภาพที่ 6 สัดส่วนของผู้ตอบแบบสอบถามที่ไม่ใช่กลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศที่เชื่อว่าการเลือกปฏิบัติ บางรูปแบบต่อกลุ่มคนหลากหลายทางเพศเป็นเรื่องที่ยอมรับได้ (ร้อยละ) ่ บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศเป็นส่วนหนึ่งของสังคมไทยอย่างแท้จริง ทางเลือกในการเปิดทางให้กลุม ประเทศไทยอยู่ในฐานะที่ดีที่จะเป็นผู้นาในระดับโลกด้านการมีส่วนร่วมของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทาง เพศ และสามารถที่จะเป็นแบบอย่างสาหรับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคเอเชีย การขับเคลื่อนจากจุดยืนว่าด้วยการ ยอมรับได้ไปสู่การเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างเต็มที่ จาเป็นต้องได้รับการหนุนเสริมจาก นโยบายและการปฏิบัติในหลายด้าน รวมทั้งการสร้างความตระหนัก รู้ที่กว้างขวางขึ้น และการดาเนินงานพร้อม ทั้งพัฒนากรอบกฎหมายของประเทศให้มีความก้าวหน้า รายงานฉบับนี้นาเสนอทางเลือกต่าง ๆ ในการพัฒนา นโยบายและแผนปฏิบัติงาน โดยได้บูรณาการประสบการณ์และแนวปฏิบัติที่ดีจากนานาชาติ ด้วยความหวังว่าจะ มีการขจัดการเลือกปฏิบัติและส่งเสริมความเท่าเทียมกัน ความเป็นธรรม และความมั่งคั่งทั่วหน้าของประชาชน ไทย สาหรับทางเลือกด้านนโยบายและโครงการที่ระบุถึงการปฏิบัติโดยเฉพาะในหกประเด็นหลักได้มีการสุรปไว้ใน ตารางที่ 1 พร้อมกับหน่วยงานรับผิดชอบหลักและระยะเวลา xx ตารางที่ 1 การมี ส่ ว นร่ ว มของกลุ่ ม บุ ค คลที่ มี ค วามหลากหลายทางเพศ ในประเทศไทย ทางเลื อ กนโยบาย ข้ อ เสนอแนะมาตรการทางนโยบาย หน่ ว ยงานและองค์ ก รรั บ ผิ ด ชอบหลั ก ช่ ว งเวลา การสร้ า งความตระหนั ก รู้ เ รื่ อ งนโยบายสาธารณะ 1. พั ฒ นาและดาเนิ น โครงการรณรงค์ ส ร้ า งความ หน่ ว ยงานหลั ก ระยะสั้ น และระยะ ตระหนั ก รู้ แ ก่ ส าธารณชนในเรื่ อ งความเท่ า เที ย ม • กระทรวงการพั ฒ าสั ง คมและความ กลาง ระหว่ า งเพศ เรื่ อ งสิ ท ธิ ใ นวิ ถี ท างเพศและอั ต ลั ก ษณ์ มั่ น คงของมนุ ษ ย์ ทางเพศ (SOGI) และความหลากหลายทางเพศ ขั บ เคลื่ อ นร่ ว มกั บ : กฏหมายที่ ว่ า ด้ ว ยการห้ า มเลื อ กปฏิ บั ติ แ ละนโยบาย • กระทรวงยุ ติ ธ รรม ตลอดทั้ ง กลไกรั ฐ โดยครอบคลุ ม ไปถึ ง ภาคเอกชน • กระทรวงแรงงาน ประชาสั ง คม องค์ ก รสื่ อ สารมวลชน และสั ง คมใน • คณะกรรมการวิ นิ จ ฉั ย การเลื อ ก ภาพรวม โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ด้ ว ยวิ ธี ปฏิ บั ติ โ ดยไม่ เ ป็ น ธรรมระหว่ า งเพศ ก. จั ด การอบรม สร้ า งความตระหนั ก และ (วลพ.) สร้ า งเสริ ม ศั ก ยภาพในประเด็ น ความเสมอ • คณะกรรมการสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนและ ภาคระหว่ า งเพศ ความหลากหลายทางเพศ หน่ ว ยงานต้ น เรื่ อ งต่ า ง ๆ และวิ ถี ท างเพศและอั ต ลั ก ษณ์ ท างเพศในภาค • สานั ก งานคณะกรรมการข้ า ราชการ แรงงาน การศึ ก ษา สาธารณสุ ข และบริ ก าร พลเรื อ น สานั ก นายกรั ฐ มนตรี หลั ก อื่ น ๆที่ ห น่ ว ยงานรั ฐ เป็ น ผู้ จั ด บริ ก าร • กระทรวงดิ จิ ทั ล เพื่ อ เศรษฐกิ จ และ ข. สร้ า งความตระหนั ก และจิ ต สานึ ก ด้ า น สั ง คม ความละเอี ย ดอ่ อ นในกลุ่ ม เจ้ า หน้ า ที่ รั ฐ ครู • สมาคมนั ก ข่ า วนั ก หนั ง สื อ พิ ม พ์ แ ห่ ง แพทย์ และบุ ค ลากรด้ า นการศึ ก ษาและ ประเทศไทย สานั ก งาน สาธารณสุ ข เกี่ ย วกั บ กฎหมายและนโยบายว่ า คณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย ง ด้ ว ยการห้ า มเลื อ กปฏิ บั ติ ใ นวิ ถี ท างเพศ กิ จ การโทรทั ศ น์ และกิ จ การ และอั ต ลั ก ษณ์ ท างเพศของบุ ค คล โทรคมนาคมแห่ ง ชาติ (กสทช.) และ 2. ในฐานะกลุ่ ม บุ ค คลที่ มี ค วามหลากหลายทางเพศที่ องค์ ก รสื่ อ ต่ า ง ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เป็ น องค์ ป ระกอบหนึ่ ง ของการนาพาประเทศไทยสู่ ความเป็ น “ Thailand 4.0” รั ฐ บาลต้ อ งแสดง เจตน์ จานงในระดั บ สู ง ในการเปิ ด พื้ น ที่ ก ารมี ส่ ว น ร่ ว มให้ ก ลุ่ ม บุ ค คลที่ มี ค วามหลากหลายทางเพศเข้ า เป็ น พลั ง ของสั ง คมมากยิ่ ง ขึ้ น และต้ อ งยื น ยั น ว่ า ประชาชนไทยทุ ก คนมี สิ ท ธิ แ ละโอกาสที่ เ ท่ า เที ย ม กั น โดยไม่ มี เ ส้ น แบ่ ง เกี่ ย วกั บ เพศ วิ ถี ท างเพศ หรื อ อั ต ลั ก ษณ์ ท างเพศ ตั ว อย่ า งเช่ น ผู้ นารั ฐ บาล 21 ตารางที่ 1 การมี ส่ ว นร่ ว มของกลุ่ ม บุ ค คลที่ มี ค วามหลากหลายทางเพศ ในประเทศไทย ทางเลื อ กนโยบาย ข้ อ เสนอแนะมาตรการทางนโยบาย หน่ ว ยงานและองค์ ก รรั บ ผิ ด ชอบหลั ก ช่ ว งเวลา อาจแถลงนโยบายดั ง กล่ า ว หรื อ กาหนดให้ มี ก าร ขั บ เคลื่ อ นเรื่ อ งการมี ส่ ว นร่ ว มของกลุ่ ม บุ ค คลที่ มี ความหลากหลายทางเพศทั่ ว ประเทศ ความเท่ า เที ย มของบุ ค คลที่ มี ค วามหลากหลายทางเพศ และการไม่ เ ลื อ กปฏิ บั ติ ด้ ว ยเหตุ แ ห่ ง วิ ถี ท างเพศและอั ต ลั ก ษณ์ ท างเพศในการจ้ า งงาน 1. พั ฒ นาร่ า งและบั ง คั บ ใช้ ก ฎหมายเกี่ ย วกั บ ความเท่ า องค์ ก รหลั ก ระยะปานกลาง เที ย มและห้ า มมิ ใ ห้ มี ก ารเลื อ กปฏิ บั ติ ใ นการจ้ า ง • กระทรวงแรงงาน งานและวิ ช าชี พ เพื่ อ เป็ น หลั ก ประกั น การไม่ เ ลื อ ก ขั บ เคลื่ อ นร่ ว มกั บ ปฏิ บั ติ ด้ ว ยเหตุ แ ห่ ง วิ ถี ท างเพศและอั ต ลั ก ษณ์ ท าง • คณะกรรมการวิ นิ จ ฉั ย การเลื อ ก เพศ ปฏิ บั ติ . โดยไม่ เ ป็ น ธรรมระหว่ า งเพศ 2. จั ด ตั้ ง กลไกการบั ง คั บ ใช้ แ ละติ ด ตามผลการปฏิ บั ติ (คณะกรรมการวลพ.) ตามกฏหมายใหม่ ดั ง กล่ า ว และให้ มี ก ารเยี ย วยาใน • กระทรวงการพั ฒ นาสั ง คมและความ กรณี ที่ มี ก ารเลื อ กปฏิ บั ติ เ กิ ด ขึ้ น โดยเฉพาะอย่ า ง มั่ น คงมนุ ษ ย์ ยิ่ ง กั บ กลุ่ ม คนข้ า มเพศ • ภาคเอกชน 3. จั ด ตั้ ง คณะกรรมการการจ้ า งงานอย่ า งเท่ า เที ย ม และส่ ง เสริ ม บทบาทของคณะกรรมการดั ง กล่ า วใน ฐานะกลไกร้ อ งทุ ก ข์ ร ะดั บ ประเทศ 4. ส่ ง เสริ ม การสานเสวนาทางสั ง คมระหว่ า งนายจ้ า ง ในภาคเอกชน กลุ่ ม ลู ก จ้ า งและพนั ก งานซึ่ ง เป็ น บุ ค คลมี ค วามหลากหลายทางเพศในการคุ้ ม ครอง สิ ท ธิ ลู ก จ้ า ง และส่ ง เสริ ม การไม่ เ ลื อ กปฏิ บั ติ ด้ ว ย เหตุ แ ห่ ง วิ ถี ท างเพศและอั ต ลั ก ษณ์ ท างเพศ ความเท่ า เที ย มกั น ในการดู แ ลสุ ข ภาพของบุ ค คลที่ มี ค วามหลากหลายทางเพศ 1. จั ด ทาแนวปฏิ บั ติ และบู ร ณาการประเด็ น การไม่ องค์ ก รหลั ก ระยะสั้ น และระยะ เลื อ กปฏิ บั ติ ด้ ว ยเหตุ แ ห่ ง วิ ถี ท างเพศและอั ต ลั ก ษณ์ • กระทรวงสาธารณสุ ข ปานกลาง ทางเพศ เข้ า ไว้ ใ นหลั ก สู ต รการฝึ ก อบรมบุ ค ลากรที่ ขั บ เคลื่ อ นร่ ว มกั บ ให้ บ ริ ก ารด้ า นสาธารณสุ ข • กรมอนามั ย • กรมสุ ข ภาพ 22 ตารางที่ 1 การมี ส่ ว นร่ ว มของกลุ่ ม บุ ค คลที่ มี ค วามหลากหลายทางเพศ ในประเทศไทย ทางเลื อ กนโยบาย ข้ อ เสนอแนะมาตรการทางนโยบาย หน่ ว ยงานและองค์ ก รรั บ ผิ ด ชอบหลั ก ช่ ว งเวลา 2. พั ฒ นาและใช้ ม าตรการป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ ผู้ ใ ห้ บ ริ ก าร • กรมสนั บ สนุ น การบริ ก ารสุ ข ภาพ ด้ า นประกั น สุ ข ภาพเอกชนซั ก ถามเกี่ ย วกั บ วิ ถี ท าง • กระทรวงยุ ติ ธ รรม เพศและอั ต ลั ก ษณ์ ท างเพศของบุ ค คล • สานั ก งานคณะกรรมการกากั บ และ 3. พั ฒ นาและนามาใช้ ซึ่ ง มาตรการทางกฎหมายที่ ส่ ง เสริ ม การประกอบธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย กาหนดให้ บ ริ ษั ท ประกั น ชี วิ ต เอกชนต้ อ งออก กระทรวงพาณิ ช ย์ กรมธรรม์ คุ้ ม ครองผู้ เ อาประกั น ที่ เ ปิ ด ทางให้ คู่ ชี วิ ต • สานั ก งานกองทุ น ประกั น สั ง คม ไม่ ว่ า จะแต่ ง งานหรื อ ไม่ ไ ด้ แ ต่ ง งานก็ ต าม ไม่ ว่ า จะมี • ภาคเอกชน (บริ ษั ท ประกั น ต่ า ง ๆ) เพศหรื อ อั ต ลั ก ษณ์ ท างเพศใดก็ ต าม สามารถมี สิ ท ธิ เป็ น ผู้ รั บ ผลประโยชน์ จ ากการเอาประกั น ภั ย ได้ การมี ส่ ว นร่ ว มในการศึ ก ษาสาหรั บ ทุ ก คน 1. บู ร ณาการแนวปฏิ บั ติ ว่ า ด้ ว ยความเท่ า เที ย ม องค์ ก รหลั ก ระยะสั้ น และระยะ ระหว่ า งเพศและการไม่ เ ลื อ กปฏิ บั ติ ด้ ว ยเหตุ แ ห่ ง • กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ปานกลาง วิ ถี ท างเพศและอั ต ลั ก ษณ์ ท างเพศไว้ ใ นหลั ก สู ต ร ขั บ เคลื่ อ นร่ ว มกั บ การฝึ ก อบรมทั้ ง ก่ อ นและระหว่ า งการปฏิ บั ติ ง าน • กระทรวงการพั ฒ นาสั ง คมและความ ของผู้ บ ริ ห ารโรงเรี ย นและครู ทั้ ง ที่ ป ฏิ บั ติ ง านอยู่ ใ น มั่ น คงมนุ ษ ย์ ปั จ จุ บั น และที่ รั บ เข้ า มาปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ หม่ • คณะกรรมการวลพ. 2. สร้ า งความตระหนั ก รู้ ใ นชุ ม ชนโรงเรี ย นทั้ ง หมด • กรุ ง เทพมหานคร (กทม.) เกี่ ย วกั บ การไม่ เ ลื อ กปฏิ บั ติ ด้ ว ยเหตุ แ ห่ ง วิ ถี ท างเพศ • สถาบั น อื่ น ๆ ที่ กากั บ ดู แ ลระบบ และอั ต ลั ก ษณ์ ท างเพศ การรายงานเหตุ ค วาม การศึ ก ษา รวมทั้ ง กรมส่ ง เสริ ม การ รุ น แรงและกลไกการส่ ง ต่ อ เพื่ อ ให้ เ กิ ด การดู แ ลอย่ า ง ปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ที่ มี โ รงเรี ย นใน ต่ อ เนื่ อ ง พร้ อ มสร้ า งขี ด ความสามารถในการใช้ สั ง กั ด ในหลายพื้ น ที่ กลไกนั้ น เพื่ อ ป้ อ งกั น และรั บ มื อ เมื่ อ เกิ ด เหตุ ค วาม รุ น แรงและการเลื อ กปฏิ บั ติ ด้ ว ยเหตุ แ ห่ ง วิ ถี ท างเพศ และอั ต ลั ก ษณ์ ท างเพศ รวมทั้ ง การรั ง แกและการ คุ ก คามทางโลกไซเบอร์ ความเสมอภาคในสิ ท ธิ ต ามกฎหมาย 1. ให้ มี ก ารออกกฎหมายรั บ รองเพศสภาพ องค์ ก รหลั ก ระยะปานกลาง 2. ให้ มี ก ารออกกฎหมายที่ รั บ รองสถานะคู่ ชี วิ ต ของ • กระทรวงยุ ติ ธ รรม คนเพศเดี ย วกั น โดยให้ ก ฎหมายนี้ คานึ ง ถึ ง แนว ขั บ เคลื่ อ นร่ ว มกั บ ปฏิ บั ติ ที่ ดี ที่ สุ ด ที่ จ ะอนุ ญ าตและรั บ รองการใช้ ชี วิ ต • กรมคุ้ ม ครองสิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพ 23 ตารางที่ 1 การมี ส่ ว นร่ ว มของกลุ่ ม บุ ค คลที่ มี ค วามหลากหลายทางเพศ ในประเทศไทย ทางเลื อ กนโยบาย ข้ อ เสนอแนะมาตรการทางนโยบาย หน่ ว ยงานและองค์ ก รรั บ ผิ ด ชอบหลั ก ช่ ว งเวลา คู่ อ ย่ า งมี เ สถี ย รภาพระหว่ า งบุ ค คลสองคน บน • คณะกรรมการสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน พื้ น ฐานที่ เ ท่ า เที ย มกั น โดยไม่ คานึ ง ถึ ง เพศสภาพ แห่ ง ชาติ แ ละองค์ ก รที่ มี ห น้ า ที่ วิ ถี ท างเพศ หรื อ อั ต ลั ก ษณ์ ท างเพศ รั บ ผิ ด ชอบอื่ น ๆ 3. บู ร ณาการประเด็ น วิ ถี ท างเพศและอั ต ลั ก ษณ์ ท าง เพศอย่ า งเต็ ม รู ป แบบเข้ า ไว้ ใ นพระราชบั ญ ญั ติ ความเท่ า เที ย มระหว่ า งเพศ พ.ศ. 2558 และการ ส่ ง เสริ ม ความเสมอภาคระหว่ า งเพศในแผนพั ฒ นา หรื อ นโยบายการพั ฒ นาในประเทศ 4. สนั บ สนุ น อย่ า งจริ ง จั ง ให้ ก ลุ่ ม เลสเบี้ ย น ไบเซ็ ก ชวล และผู้ ห ญิ ง ข้ า มเพศในทุ ก ๆ ความพยายามให้ เ กิ ด การมี ส่ ว นร่ ว มเพื่ อ ส่ ง เสริ ม ความเท่ า เที ย มระหว่ า ง เพศ เรื่ อ งสิ ท ธิ ผู้ ห ญิ ง การเสริ ม พลั ง ให้ ผู้ ห ญิ ง และ การป้ อ งกั น ความรุ น แรงต่ อ ผู้ ห ญิ ง และเด็ ก 5. เสริ ม สร้ า งและบั ง คั บ ใช้ ค วามคุ้ ม ครองทาง กฎหมายต่ อ ความรุ น แรงทุ ก รู ป แบบอั น เนื่ อ งมาจากเพศสภาพ และต่ อ กลุ่ ม บุ ค คลที่ มี ความหลากหลายทางเพศ การศึ ก ษาวิ จั ย เพื่ อ เติ ม เต็ ม ช่ อ งว่ า งทางความรู้ 1. เก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล เชิ ง ปริ ม าณในภาคส่ ว นหลั ก โดย องค์ ก รหลั ก ระยะสั้ น และระยะ แจกแจงมิ ติ วิ ถี ท างเพศและอั ต ลั ก ษณ์ ท างเพศ • กระทรวงการพั ฒ นาสั ง คมและความ ปานกลาง 2. พั ฒ นาและบู ร ณาการฐานข้ อ มู ล ที่ ผ สมผสานกรณี มั่ น คงมนุ ษ ย์ ต่ า ง ๆ และข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ การกี ด กั น กลุ่ ม บุ ค คลที่ มี ขั บ เคลื่ อ นร่ ว มกั บ ความหลากหลายทางเพศจากหน่ ว ยงานภาครั ฐ ที่ • กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร เกี่ ย วข้ อ งและจากองค์ ก รประชาสั ง คม • สานั ก งานสถิ ติ แ ห่ ง ชาติ แ ละ 3. เพิ่ ม เติ ม ส่ ว นข้ อ มู ล ที่ ว่ า ด้ ว ยวิ ถี ท างเพศและอั ต - หน่ ว ยงานรั บ ผิ ด ชอบตรง ลั ก ษณ์ ท างเพศ ในการทาสารวจระดั บ ประเทศหรื อ • สานั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การวิ จั ย ทาข้ อ มู ล ทะเบี ย นราษฏร์ จ ากกระทรวงที่ มี ห น้ า ที่ สถาบั น วิ จั ย ต่ า ง ๆ รั บ ผิ ด ชอบ • องค์ ก รเอกชน 4. วิ เ คราะห์ แ นวปฏิ บั ติ ที่ ดี ที่ สุ ด ในการป้ อ งกั น และ เผชิ ญ เหตุ ค วามรุ น แรงที่ มี พื้ น ฐานจากวิ ถี ท างเพศ 24 ตารางที่ 1 การมี ส่ ว นร่ ว มของกลุ่ ม บุ ค คลที่ มี ค วามหลากหลายทางเพศ ในประเทศไทย ทางเลื อ กนโยบาย ข้ อ เสนอแนะมาตรการทางนโยบาย หน่ ว ยงานและองค์ ก รรั บ ผิ ด ชอบหลั ก ช่ ว งเวลา และอั ต ลั ก ษณ์ ท างเพศ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ใน โรงเรี ย น เพื่ อ สร้ า งสั ง คมที่ ทุ ก คนมี ส่ ว นร่ ว มที่ เ ท่ า เที ย มกั น อย่ า งแท้ จ ริ ง 5. ทาการประเมิ น นโยบายและโครงการต่ า งๆ ที่ เกี่ ย วกั บ ประเด็ น วิ ถี ท างเพศและอั ต ลั ก ษณ์ ท างเพศ ในประเทศไทย 6. ดาเนิ น การจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล อย่ า งเป็ น ระบบเกี่ ย วกั บ การรายงานเหตุ ค วามรุ น แรงต่ อ กลุ่ ม บุ ค คลที่ มี ความหลากหลายทางเพศ 7. ให้ ทุ น การทาวิ จั ย ศึ ก ษาเพื่ อ ประเมิ น มู ล ค่ า ของ ต้ น ทุ น ทางเศรษฐกิ จ และการเงิ น ที่ ก ระทบต่ อ สั ง คม อั น มี ส าเหตุ จ ากการกี ด กั น และปฏิ บั ติ อ ย่ า งไม่ เ ท่ า เที ย มกั บ กลุ่ ม บุ ค คลที่ มี ค วามหลากหลายทางเพศ และประโยชน์ ข องการที่ ใ ห้ พ วกเขาได้ มี ส่ ว นร่ ว ม เต็ ม ที่ 25 CONTACT US World Bank Thailand 30th Floor, 989 Siam Piwat Tower 989 Rama I Road, Pathumwan, Bangkok 10330 Tel: +662 686-8300 Email: thailand@worldbank.org www.worldbank.org/thailand facebook.com/worldbankthailand Supported By: Economic Inclusion of LGBTI Groups in Thailand 76